ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่วินัย 3 กทม
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบเจ้าหน้าที่วินัย 3 กทม

แชร์กระทู้นี้

เมื่อตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครว่างลงโดยการลาออกต้องเลือกตั้งผู้ว่าฯ  ใหม่ภายในกี่วัน

            1.  30  วัน

            2.  60  วัน

            3.  90  วัน

            4.  120  วัน

1002.   ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ต้องยื่นใบลาออกต่อใครจึงจะมีผลตามกฎหมาย

            1.  คณะรัฐมนตรี

            2.  นายกรัฐมนตรี

            3.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            4.  ประธานสภากรุงเทพมหานคร

1003.   ข้าราชการกรุงเทพมหานครต้องพ้นจากตำแหน่งในกรณีใดต่อไปนี้

            1.  คณะรัฐมนตรีสั่งให้ออก

            2.  นายกรัฐมนตรีสั่งให้ออก

            3.  สภากรุงเทพมหานครมีมติให้ออก

            4.  มีการยุบสภากรุงเทพมหานคร

1004.   ในกรณีที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ลาออกเมื่อดำรงตำแหน่งมาแล้ว  1  ปี  ผู้ที่ได้รับเลือกตั้งเป็น

            ผู้ว่าฯ  คนใหม่จะดำรงตำแหน่งได้อีกกี่ปี

            1.  4  ปี

            2.  3  ปี

            3.  2  ปี

            4.  1  ปี

1005.   ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของผู้อำนวยการเขต

            1.  อำนาจหน้าที่ของนายอำเภอ

            2.  อำนาจหน้าที่ซึ่งผู้อำนวยการสำนักมอบหมาย เเอ็คกรุ๊ป            3.  อำนาจหน้าที่ซึ่งปลัด กทม. มอบหมาย

            4.  อำนาจหน้าที่ซึ่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  มอบหมาย

1006.   เขตแห่งหนึ่งมีราษฎร  250,000 คน  จะมีสมาชิกสภาเขตได้เท่าไร

            1.  7  คน

            2.  8  คน

            3.  9  คน

            4.  10  คน

1007.   ประธานสภาเขตดำรงตำแหน่งวาระคราวละกี่ปี

            1.  1  ปี

            2.  2  ปี

            3.  3  ปี

            4.  เท่าอายุสภาเขต

1008.   ใครเป็นผู้นัดประชุมสภาเขตครั้งแรก เเอ๊คกรุ๊ป

            1.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            2.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            3.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            4.  ผู้อำนวยการเขต
1009.   ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของสภาเขต

            1.  สอดส่องดุแลการดำเนินการของสำนักงานเขต

            2.  จัดสรรงบประมาณเพื่อพัฒนาเขต

            3.  เปิดอภิปรายทั่วไป

1010.   ประธานสภาเขตต้องลาออกต่อใครจึงจะมีผลตามกฎหมาย

            1.  ผู้อำนวยการเขต                                          2.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            3.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร                       4.  สภาเขต

1011.   ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจะมอบให้ผู้อำนวยการเขตปฏิบัติราชการแทนต้องดำเนินการอย่างไร

            1.  ทำเป็นหนังสือมอบอำนาจ

            2.  ทำเป็นคำสั่ง

            3.  ทำเป็นคำสั่งและประกาศในราชกิจจานุเบกษา

            4.  ทำเป็นประกาศกรุงเทพมหานคร

1012.   ผู้อำนวยการเขตจะมอบหมายให้หัวหน้างานสำนักงานเขตปฏิบัติราชการแทนต้องดำเนินการอย่างไร

            1.  ทำเป็นหนังสือมอบอำนาจ

            2.  ทำเป็นคำสั่ง

            3.  ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

            4.  ทำเป็นประกาศกรุงเทพมหานคร

1013.   ใครเป็นผู้แต่งตั้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิใน  ก.ก.

            1.  นายกรัฐมนตรี

            2.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            3.  ประธาน  ก.ก.

            4.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

1014.   ถ้าประธาน  ก.ก. ไม่มาประชุมใครจะทำหน้าที่ประธานที่ประชุม  ก.ก.

            1.  รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย

            2.  รองประธาน ก.ก.

            3.  กรรมการผู้มีอาวุโสสูงสุด

            4.  ผู้ซึ่งที่ประชุม  ก.ก.  เลือกให้ทำหน้าที่

1015.   กฎ  ก.ก. จะมีผลใบ้บังคับเมื่อใด

            1.  เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี

            2.  เมื่อประกาศในราชกิจจานุเบกษา

            3.  เมื่อได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            4.  เมื่อทำเป็นประกาศกรุงเทพมหานคร

1016.   ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของ  ก.ก.

            1.  เสนอแนะ  และให้คำปรึกษาแก่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            2.  ออกกฎ  ก.ก.  เพื่อปฏิบัติการตามกฎหมาย

            3.  จัดสอบแข่งขันเพื่อรับทุนของกรุงเทพมหานครในการศึกษา  ดูงน

            4.  รักษาทะเบียน  ประวัติของข้าราชการกรุงเทพมหานคร

1017.   ข้าราชการตำแหน่งใด  มิได้เป็นกรรมการใน  อ.ก.ก.  สามัญประจำกรุงเทพมหานคร

            1.  ปลัดกรุงเทพมหานคร                                  2.  รองปลัดกรุงเทพมหานคร

            3.  ผู้อำนยการสำนัก                                         4.  ผู้อำนวยการเขต

1018.   ข้อใดเรียงตามลำดับจากพื้นที่ใหญ่ไปสู่เล็ก

            1.  กรุงเทพมหานคร  แขวง  เขต  ซอย

            2.  แขวง  เขต  ซอย  กรุงเทพมหานคร

            3.  กรุงเทพมหานคร  เขต  แขวง  ซอย

            4.  ซอย  แขวง  เขต  กรุงเทพมหานคร

1019.  ข้าราชการกรุงเทพมหานคร  หมายความถึง

            1.  ข้าราชการสามัญข้าราชการวิสามัญ

            2.  ข้าราชการสามัญ  ข้าราชการวิสามัญลูกจ้าง

            3.  ข้าราชการสามัญเท่านั้น

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1020.   คำว่า “รัฐมนตรี” ตามความหมายแห่งนัยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร หมายถึง

            1.  รัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            2.  นายกรัฐมนตรี

            3.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย เเอ๊คกรุ๊ป

            4.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

1021.   กก.  เป็นคำย่อของอะไร ?

            1.  คณะกรรมการกำหนดตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            2.  คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            3.  คณะกรรมการกำหนดระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            4.  คณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร

1022.   ผู้ทรงคุณวุฒิที่กำหนดไว้ใน  ก.ก. ต้องมีจำนวนดังนี้

            1.  ไม่เกินหกคน                                               ข. ไม่ต่ำกว่า  3 คน  แต่ไม่เกิน 5 คน

            3.  ไม่เกิน  7  คน                                              4.  ไม่เกิน  5  คน

1023.   ผู้แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ  ก.ก. ได้แก่ อ.วันนรัตน์            ก. นายกคณะรัฐมนตรี

            2.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            3.  รัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            4.  ข้อ  1 และ  2  ถูก

1024.   คณะ  ก.ก. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ  (อกก.)  ทำการแทนได้หรือไม่

            1.  พระราชกฤษฎีกา

            2.  แต่งตั้งกี่ชุดก็ได้ที่จำเป็น

            3.  แต่งตั้งได้เมื่อนายกรัฐมนตรีอนุมัติ

            4.  แต่งตั้งได้เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติ

1025.   เครื่องแบบของข้าราชการ  กทม.  และระเบียบการแต่งกาย  กำหนดโดย

            1.  พระราชกฤษฎีกา

            2.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ  กทม.

            3.  กฎกระทรวง

            4.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน

1026.   ข้าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.)  หมายถึง

            1.  ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ราชการของ  กทม.

            2.  ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ราชการของ  กทม.  โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณแผ่นดิน

            3.  ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ราชการของ  กทม.  โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณของ  กทม.

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1027.   พ.ร.บ.  ระเบียบข้าราชการ  กทม.  พ.ศ. 2516  มีทั้งหมด  จำนวนกี่มาตรา

            1.  14  มาตรา

            2.  15  มาตรา

            3.  16  มาตรา

            4.  21  มาตรา

1028.   ประธานคณะกรรมการข้าราชการ  กทม.  คือใคร

            1.  รัฐมนตรี

            2.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            3.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            4.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

1029.   บุคคลต่อไปนี้  ข้อใดที่ไม่เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            1.  หัวหน้าเขต

            2.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            3.  ผู้อำนวยการสำนัก

            4.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

1030.   ข้าราชการการเมืองที่มาปฏิบัติหน้าที่ทางกรุงเทพมหานครโดยตรง  มีกี่ตำแหน่ง

            1.  5  ตำแหน่ง              2.  4  ตำแหน่ง              3.  3  ตำแหน่ง              4.  2  ตำแหน่ง
1032.   ข้าราชการกรุงเทพมหานคร  เป็นข้าราชการชนิดใด

            1.  ข้าราชการพลเรือน

            2.  ข้าราชการการเมือง

            ค. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1033.   ตำแหน่งใดเป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง

            1.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            2.  หัวหน้าเขต

            3.  ผู้อำนวยการกอง

            4.  เลขานุการผู้ว่าราชการ  กทม.

1034.   คณะอนุกรรมการ (อกก.)  ซึ่งทำหน้าที่แทน  กก.  ปัจจุบัน  มีอยู่กี่คณะ

            1.  1  คณะ

            2.  2  คณะ

            3.  3  คณะ

            4.  4  คณะ

1035.   ในระหว่างที่ยังไม่ได้ออกกฎ  ก.ก.  ให้นำกฎอะไรมาใช้บังคับโดยอนุโลม

            1.  กฎ  ก.พ.

            2.  กฎ  ก.ท.

            3.  กฎกระรวง

            4.  กฎ  อ.ก.ก.

1036.   มีเหตุผลประกรใดในการประกาศใช้  พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            1.  เพื่อความเหมาะสมแก่สถานการณ์ของระบอบประชาธิปไตย

            2.  เพื่อให้  พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือนมีความถูกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

            3.  เพื่อมอบอำนาจบริหารแก่ผู้ว่าราชการ  กทม.

            4.  มีข้าราชการ  กทม. แล้ว  ยังไม่มีกฎหมายใช้บังคับ

1037.   ข้าราชการพลเรือน  แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

            1.  5  ประเภท

            2.  6  ประเภท

            3.  7  ประเภท

            4.  8  ประเภท

1038.   รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม  พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร  หมายถึง

            1.  นายกรัฐมนตรี

            2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            3.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            4.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร          

1039.  ข้าราชการกรุงเทพมหานคร  หมายความถึง

            1.  ข้าราชการสามัญข้าราชการวิสามัญ

            2.  ข้าราชการสามัญ  ข้าราชการวิสามัญลูกจ้าง

            3.  ข้าราชการสามัญเท่านั้น

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1040.   คำว่า “รัฐมนตรี” ตามความหมายแห่งนัยพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร หมายถึง

            1.  รัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            2.  นายกรัฐมนตรี

            3.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            4.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

1041.   ผู้ทรงคุณวุฒิที่กำหนดไว้ใน  ก.ก. ต้องมีจำนวนดังนี้

            1.  ไม่เกินหกคน                                               ข. ไม่ต่ำกว่า  3 คน  แต่ไม่เกิน 5 คน

            3.  ไม่เกิน  7  คน                                              4.  ไม่เกิน  5  คน

1042.   ผู้แต่งตั้งผู้ทรงคุณวุฒิ  ก.ก. ได้แก่

            ก. นายกคณะรัฐมนตรี

            2.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            3.  รัฐมนตรีว่าการประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            4.  ข้อ  1 และ  2  ถูก

1043.   กก.  เป็นคำย่อของอะไร ?

            1.  คณะกรรมการกำหนดตำแหน่งและเงินเดือนข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            2.  คณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            3.  คณะกรรมการกำหนดระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            4.  คณะกรรมการกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการกรุงเทพมหานคร

1044.   คณะ  ก.ก. แต่งตั้งคณะอนุกรรมการ  (อกก.)  ทำการแทนได้หรือไม่

            1.  พระราชกฤษฎีกา

            2.  แต่งตั้งกี่ชุดก็ได้ที่จำเป็น

            3.  แต่งตั้งได้เมื่อนายกรัฐมนตรีอนุมัติ

            4.  แต่งตั้งได้เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยอนุมัติ

1045.   ตำแหน่งใดเป็นตำแหน่งข้าราชการการเมือง

            1.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            2.  หัวหน้าเขต

            3.  ผู้อำนวยการกอง

            4.  เลขานุการผู้ว่าราชการ  กทม.

1046.   คณะอนุกรรมการ (อกก.)  ซึ่งทำหน้าที่แทน  กก.  ปัจจุบัน  มีอยู่กี่คณะ

            1.  1  คณะ

            2.  2  คณะ

            3.  3  คณะ

            4.  4  คณะ
1047.   เครื่องแบบของข้าราชการ  กทม.  และระเบียบการแต่งกาย  กำหนดโดย

            1.  พระราชกฤษฎีกา

            2.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการ  กทม.

            3.  กฎกระทรวง

            4.  พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน

1048.   ข้าราชการกรุงเทพมหานคร (กทม.)  หมายถึง

            1.  ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ราชการของ  กทม.

            2.  ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ราชการของ  กทม.  โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณแผ่นดิน

            3.  ข้าราชการซึ่งปฏิบัติหน้าที่ราชการของ  กทม.  โดยได้รับเงินเดือนจากงบประมาณของ  กทม.

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1049.   พ.ร.บ.  ระเบียบข้าราชการ  กทม.  พ.ศ. 2516  มีทั้งหมด  จำนวนกี่มาตรา

            1.  14  มาตรา

            2.  15  มาตรา

            3.  16  มาตรา

            4.  21  มาตรา

1050.   รัฐมนตรีผู้รักษาการตาม  พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร  หมายถึง

            1.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            2.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

            3.   รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            4.  นายกรัฐมนตรี

1051.   ประธานคณะกรรมการข้าราชการ  กทม.  คือใคร

            1.  รัฐมนตรี

            2.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

            3.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            4.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

1052.   บุคคลต่อไปนี้  ข้อใดที่ไม่เป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            1.  หัวหน้าเขต

            2.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            3.  ผู้อำนวยการสำนัก

            4.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

1053.   ข้าราชการการเมืองที่มาปฏิบัติหน้าที่ทางกรุงเทพมหานครโดยตรง  มีกี่ตำแหน่ง

            1.  5  ตำแหน่ง              2.  4  ตำแหน่ง              3.  3  ตำแหน่ง              4.  2  ตำแหน่ง

1054.   พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการ  ตำแหน่ง  ประกาศใช้ในปี  พ.ศ.  ใด

            1.  พ.ศ.  2515

            2.  พ.ศ.  2516

            3.  พ.ศ.  2517

            4.  พ.ศ.  2518

1055.   ข้าราชการกรุงเทพมหานคร  เป็นข้าราชการชนิดใด

            1.  ข้าราชการพลเรือน

            2.  ข้าราชการการเมือง

            ค. ข้าราชการส่วนท้องถิ่น

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1056.   มีเหตุผลประกรใดในการประกาศใช้  พ.ร.บ. ระเบียบข้าราชการกรุงเทพมหานคร

            1.  เพื่อความเหมาะสมแก่สถานการณ์ของระบอบประชาธิปไตย

            2.  เพื่อให้  พ.ร.บ. ข้าราชการพลเรือนมีความถูกต้องและสมบูรณ์ยิ่งขึ้น

            3.  เพื่อมอบอำนาจบริหารแก่ผู้ว่าราชการ  กทม.

            4.  มีข้าราชการ  กทม. แล้ว  ยังไม่มีกฎหมายใช้บังคับ

1057.   ในระหว่างที่ยังไม่ได้ออกกฎ  ก.ก.  ให้นำกฎอะไรมาใช้บังคับโดยอนุโลม

            1.  กฎ  ก.พ.

            2.  กฎ  ก.ท.

            3.  กฎกระรวง

            4.  กฎ  อ.ก.ก.

1058.   ข้าราชการพลเรือน  แบ่งออกเป็นกี่ประเภท

            1.  5  ประเภท

            2.  6  ประเภท

            3.  7  ประเภท

            4.  8  ประเภท

1059.   กรุงเทพมหานครเป็น

            1.  ทบวงการเมือง  และมีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนจังหวัด

            2.  ทบวงการเมือง  และมีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่นนครหลวง

            3.  เทศบาลนคร  และมีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1060.   ข้อใดถูกต้อง

            1.  รัฐมนตรียุบสภากรุงเทพมหานครได้

            2.  รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของสภากรุงเทพมหานครยุบสภา

            3.  รัฐมนตรีโดยคำแนะนำของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ยุบสภากรุงเทพมหานครได้

            4.  รัฐมนตรีโดยอนุมัติของรัฐมนตรียุบสภาได้

1061.   ประชาชนออกเสียงเป็นประชามติว่าให้ถอดถอนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้หรือไม่

            1.  ได้

            2.  ไม่ได้

            3.  ได้  แต่ต้องให้สภากรุงเทพมหานครพิจารณาก่อนว่าจะจัดให้ประชาชนออกเสียงเป็นประชามติเช่นนั้นหรือไม่

            4.  ได้  แต่ต้องให้รัฐมนตรีสั่งการก่อน

1062.   อายุของสภากรุงเทพมหานคร  มีกำหนดคราวละกี่ปี  และเมื่ออายุสิ้นสุดลงให้จัดการเลือกตั้งภายใน

            1.  4  ปี  30  วัน

            2.  4  ปี  60  วัน

            3.  6  ปี  90  วัน

            4.  8  ปี  120  วัน
1063.   การเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานครถือเกณฑ์จำนวนราษฎร  จำนวนเท่าใดต่อสมาชิก  1  คน

            1.  หนึ่งแสนคน

            2.  สองแสนคน

            3.  สามแสนคน

            4.  สี่แสนคน

1064.   มติของสภากรุงเทพมหานคร  ที่จะจัดให้ประชาชนออกเสียง  เป็นประชามติถอดถอนผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครจะต้องมีจำนวนเท่าใด

            1.  ไม่น้อยกว่าหนึ่งในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมด

            2.  ไม่น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกทั้งหมด

            3.  ไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกทั้งหมด ของสภากรุงเทพมหานคร

            4.  ไม่น้อยกว่าสามในสี่  ของจำนวนสมาชิกทั้งหมด

1065.   การจัดระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร  ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร  พ.ศ. 2528  กรุงเทพมหานครมีฐานะ

            1.  เป็นหน่วยงานอิสระ

            2.  นิติบุคคล  และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น

            3.  เป็นองค์การบริหารส่วนจังหวัด

            4.  เป็นองค์การบริหารส่วนท้องถิ่น

1066.   การตั้ง  ยุบ  และ  เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตและแขวงในกรุงเทพมหานครกระทำโดย

            1.  หัวหน้าเขตออกประกาศของกรุงเทพมหานคร

            2.  ผู้ว่าราชการซึ่งกฎหมายอนุญาตให้จัดเก็บภาษีมา เพื่อเป็นค่าใช้จ่ายของกรุงเทพมหานครออกประกาศ

            3.  ตราพระราชกฤษฎีกา และประกาศของกรุงเทพมหานคร

            4.  รัฐมนตรีมหาดไทยออกประกาศ

1067.   ให้กรุงเทพมหานครมีรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครได้กี่คน

            1.  1  คน

            2.  2  คน

            3.  3  คน

            4.  4  คน

1068.   ผู้ว่าฯ  กรุงเทพมหานครคนปัจจุบันมาจาก

            1.  การเลือกตั้ง

            2.  การแต่งตั้ง

            3.  นักการเมือง

            4.  ทหาร

1069.   ข้อใดที่ไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            1.  อำนาจหน้าที่อื่น  โดยที่กฎหมายไม่กำหนด

            2.  รักษาการณ์ให้เป็นไป  ตามข้อบังคับกรุงเทพมหานคร

            3.  บริหารราชการตามนายกรัฐมนตรี  คณะรัฐมนตรีหรือรัฐมนตรีมอบหมาย

            4.  สั่ง  อนุมัติ  อนุญาตเกี่ยวกับราชการของกรุงเทพมหานคร  ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย

1070.   องค์การของกรุงเทพมหานคร  ประกอบด้วยกี่องค์การ

            1.  2  องค์การ

            2.  3  องค์การ

            3.  4  องค์การ

            4.  6  องค์การ

1071.   ปัจจุบันนี้ตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  เป็นตำแหน่งที่

            1.  ประชาชนกรุงเทพมหานครเป็นผู้เลือกตั้ง

            2.  กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้แต่งตั้ง

            3.  กระทรวงมหาดไทยเป็นผู้นำเสนอให้คณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1072.   รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครมีจำนวน

            1.  2  คน

            2.  3  คน

            3.  4  คน

            4.  5  คน

1073.   ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร  2528  กรุงเทพมหานครมีฐานะเป็น

            1.  จังหวัด

            2.  เทศบาลนคร

            3.  นิติบุคคล  และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น

            4.  กระทรวง

1074.   การปกครองกรุงเทพมหานคร  ซึ่งเป็นการปกครองท้องถิ่นนครหลวงได้เริ่มเมื่อ

            1.  ธันวาคม  2515

            2.  ตุลาคม  2516

            3.  เมษายน  2517

            4.  มกราคม  2518

1075.   องค์การกรุงเทพมหานคร  ประกอบด้วย

            1.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  และสภากรุงเทพมหานคร

            2.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  และข้าราชการที่มาดำรงตำแหน่งในกรุงเทพมหานคร

            3.  สมาชิกสภา  ผู้ว่าราชการ  และรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            4.  ถูกทุกข้อ

1076.   ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  อยู่ในตำแหน่งตามวาระคราวละกี่ปี

            1.  4  ปี

            2.  5  ปี

            3.  6  ปี

            4.  8  ปี

1077.   กรุงเทพมหานครมีฐานะเป็นการปกครองท้องถิ่นรูปพิเศษ  เรียกว่าการปกครองท้องถิ่นนครหลวง  มีสภาพเป็นทบวงการเมือง

            1.  ตาม พ.ร.บ. ระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร  พ.ศ. 2518  ให้ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและสภากรุงเทพมหานครเลือกตั้งจากประชาชนโดยตรง

            2.  ในปัจจุบันสมาชิกสภา  ผู้ว่าราชการและรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ได้รับการแต่งตั้งจากบุคคลที่เห็นสมควร  และสมยอมให้ข้าราชการและพนักงานของรัฐ  หรือรัฐวิสาหกิจมาดำรงตำแหน่งในกรุงเทพมหานครได้

            3.  ถูกทั้งข้อ  1  และ 2

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1078.   กรุงเทพมหานครมีฐานะเป็นอะไร

            1.  รัฐวิสาหกิจ

            2.  ทบวงการเมือง

            3.  มีฐานะเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่นนครหลวง

            4.  นิติบุคคล  และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น

1079.   ให้กรุงเทพมหานครมีผู้ว่าราชการหนึ่งคน  และให้มีรองผู้ว่าราชการกี่คน

            1.  2  คน

            2.  3  คน

            3.  4  คน

            4.  5  คน

1080.   บทกำหนดโทษผู้ละเมิดข้อปฏิบัติกรุงเทพมหานคร  ข้อใดถูกต้อง

            1.  จำคุกไม่เกินกว่า  1  เดือน  และปรับไม่เกิน 1,000.-  บาท

            2.  จำคุกไม่เกิน  1  เดือน  และปรับไม่เกิน 1,000.- บาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ

            3.  จำคุกไม่เกิน  1  เดือน  และปรับไม่เกิน  5,000.-  บาท

            4.  จำคุกไม่เกิน  1  เดือน  และปรับไม่เกิน 5,000.- บาท  หรือทั้งจำทั้งปรับ

1081.   ข้อใดมิใช่คุณสมบัติของผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร

            1.  มีสัญชาติไทยตามกฎหมาย

            2.  มีอายุไม่ต่ำกว่า  25  ปีบริบูรณ์

            3.  มีอายุไม่ต่ำกว่า  35  ปีบริบูรณ์

            4.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานครเป็นเวลาติดต่อกันถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  180  วัน

1082.   ผู้ว่า  และรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  จะต้องพ้นจากตำแหน่ง

            1.  เมื่อครบวาระ  4  ปี

            2.  ประชาชนลงประชามติให้ถอดถอนออกจากตำแหน่ง

            3.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยโดยมติของคณะรัฐมนตรี  สั่งให้ออกจากตำแหน่ง

            4.  ถูกทุกข้อ

1083.   การตั้ง  ยุบ  และเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตและแขวงของกรุงเทพมหานครจะทำได้โดย

            1.  ร่างเป็นกฎหมาย

            2.  ทำเป็นกฎกระทรวง

            3.  ตราเป็นพระกฤษฎีกา

            4.  ตราเป็นพระราชบัญญัติ

1084.   การเลือกตั้งผู้ว่าฯ  รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  และสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร  ต้องดำเนินการให้เสร็จภายใน……………วันนับแต่วันที่พระราชบัญญัติใช้บังคับ

            1.  90  วัน

            2.  6  เดือน

            3.  1  ปี

            4.  60  วัน

1085.   ผู้มีหน้าที่รับผิดชอบควบคุมราชการประจำของกรุงเทพมหานคร  ติดตามผลการปฏิบัติราชการของหน่วยงานต่าง ๆ คือ

            1.  ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            2.  รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

            3.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

            4.  รองปลัดกรุงเทพมหานคร

1086.   เมื่อมีการเลือกตั้งผู้ว่าฯ  และรองผู้ว่าฯ  กทม. เสร็จแล้วต้องมีการมอบหมายงานภายในกี่วันนับแต่วันเลือกตั้ง

            1.  3  วัน

            2.  5  วัน

            3.  7  วัน

            4.  15  วัน
1087.   ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครดำรงตำแหน่งโดยวิธีใด

            1.  โดยการแต่งตั้ง

            2.  โดยการเลือกตั้งโดยตรงและลับ

            3.  โดยการรับราชการ

            4.  โดยวิธีใดก็ได้ตามที่นายกรัฐมนตรีเห็นสมควร

1088.   การแบ่งพื้นที่กรุงเทพมหานครออกเป็นเขต  ทำให้การปฏิบัติราชการเป็นไปด้วยความสะดวกรวดเร็ว  การแบ่งเขตให้กระทำเป็น

            1.  พระราชกฤษฎีกา

            2.  ประกาศของกระทรวงมหาดไทย

            3.  ประกาศของกรุงเทพมหานคร

            4.  ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร

1089.   เมื่อการเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  เสร็จสิ้นแล้ว จะต้องมอบหมายงานในหน้าที่ภายในกำหนดกี่วัน  นับแต่วันเลือกตั้ง

            1.  5  วัน

            2.  6  วัน

            3.  7  วัน

            4.  15  วัน

1090.   ถ้าตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครและรองฯ ว่างลงด้วยเหตุอื่นนอกจาออกตามวาระแล้ว  จะต้องจัดการเลือกตั้งใหม่ภายในเวลาใด

            1.  ภายใน  30  วัน

            2.  ภายใน  60  วัน

            3.  ภายใน  90  วัน

            4.  ภายใน  120  วัน

1091.   เมื่อผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานครพ้นจากตำแหน่งตามวาระ  จะต้องจัดการเลือกตั้งใหม่  ภายในเวลาใดนับแต่วันสิ้นสุดวาระ

            1.  ภายใน  30  วัน

            2.  ภายใน  60  วัน

            3.  ภายใน  90  วัน

            4.  ภายใน  120  วัน

1092.   การตั้ง  ยุบ  และเปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตและแขวงให้ทำอย่างไร

            1.  ตราเป็นพระราชบัญญัติ  และประกาศกรุงเทพมหานคร

            2.  ตราเป็นพระราชกฤษฎีกา  และประกาศกรุงเทพมหานคร

            3.  ตราเป็นพระราชกำหนด  และประกาศกรุงเทพมหานคร

            4.  ให้ทำเป็นประกาศกระทรวงมหาดไทย  และประกาศกรุงเทพมหานคร

1093.   บุคคลผู้ที่จะสมัครเข้ารับการเลือกตั้งเป็นผู้ว่าฯ  กทม.  และรองผู้ว่าฯ  กทม. ต้องมีอายุ

            1.  ไม่ต่ำกว่า  20  ปีบริบูรณ์ในวันที่  1 ม.ค.  ของปีที่มีการเลือกตั้ง

            2.  ไม่ต่ำกว่า  25  ปีบริบูรณ์ในวันที่  1 ม.ค.  ของปีที่มีการเลือกตั้ง

            3.  ไม่ต่ำกว่า  30  ปีบริบูรณ์ในวันที่  1 ม.ค.  ของปีที่มีการเลือกตั้ง

            4.  ไม่ต่ำกว่า  35  ปีบริบูรณ์ในวันที่  1 ม.ค.  ของปีที่มีการเลือกตั้ง

1094.   ใครเป็นผู้มีอำนาจหน้าที่รับผิดชอบปฏิบัติราชการภายในเขต

            1.  นายอำเภอ

            2.  หัวหน้าเขต

            3.  หัวหน้าแขวง

            4.  ปลัดกรุงเทพมหานคร

1095.   การตั้งเปลี่ยนแปลง  หรือยุบส่วนราชการกรุงเทพมหานคร  จะต้องทำอย่างไร

            1.  ประกาศกระทรวงมหาดไทย

            2.  ตราเป็นพระราชบัญญัติ

            3.  ตราเป็นกฎกระทรวงมหาดไทย

            4.  ประกาศของกระทรวงมหาดไทย  และให้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา

1096.   การแบ่งเขตออกเป็นแขวงของกรุงเทพมหานคร  ให้กระทำเป็น

            1.  พระราชกฤษฎีกา

            2.  ประกาศของกระทรวงมหาดไทย

            3.  ประกาศของกรุงเทพมหานคร

            4.  ข้อบัญญัติของกรุงเทพมหานคร

1097.   การวางรูปแบบองค์การกรุงเทพมหานคร

            1.  ใช้หลักการแบ่งแยกอำนาจ  คือสภามีหน้าที่ทางนิติบัญญัติ  ผู้ว่าราชการมีหน้าที่ทางบริหาร

            2.  ใช้หลักปกครองแบบรัฐสภาเหมือนเทศบาล  ซึ่งสมาชิกสภาจะได้รับเลือกตั้งทำหน้าที่ฝ่ายบริหารด้วย

            3.  ใช้หลักปกครองแบบทบวงการเมือง

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1098.   ให้มีคณะกรรมการสามัญประจำสภากรุงเทพมหานครดังต่อไปนี้  คือ

            1.  คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุม  และ คณะกรรมการกฎหมาย

            2.  คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุม  และคณะกรรมการเศรษฐกิจการคลัง

            3.  คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุม  และคณะกรรมการพิจารณาเปิดเผยรายงานการประชุมลับ

            4.  คณะกรรมการตรวจรายงานการประชุม  และคณะกรรมการสาธารณสุข

1099.   ในกรณีที่สภากรุงเทพมหานครไม่ได้พิจารณาร่างข้อบัญญัติงบประมาณนันให้เสร็จสิ้นภายใน  90  วันให้ถือว่าสภากรุงเทพมหานคร

            1.  ต้องเรียกประชุมสภา  และพิจารณาให้เสร็จภายใน  15 วัน

            2.  ไม่เห็นชอบในพิจารณาร่างข้อบัญญัตินั้นจะต้องร่างใหม่  และประชุมพิจารณาให้เสร็จภายใน  90  วัน

            3.  ให้ถือว่าสภากรุงเทพมหานคร เห็นชอบ

            4.  ประธานสภาต้องรายงานผลการพิจารณาที่เกิดความล่าช้า  และต้องพิจารณาใหม่ให้เสร็จภายใน  90  วัน

1100.   ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้งเป็นผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  และรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ต้องมีคุณสมบัติ

            1.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  3  เดือน

            2.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  6  เดือน

            3.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  8  เดือน

            4.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  12  เดือน

1101.   ผู้มีสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง  เป็นสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร  ต้องมีคุณสมบัติ

            1.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  90  วัน

            2.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  120  วัน

            3.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  150  วัน

            4.  มีภูมิลำเนาอยู่ในกรุงเทพมหานคร เป็นเวลาติดต่อกันจนถึงวันสมัครไม่น้อยกว่า  180  วัน

1102.   ในกรณีที่ตำแหน่งผู้ว่าราชการหรือรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ว่างลงจะต้องปฏิบัติ

            1.  ในกรณีที่ตำแหน่งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ว่างลง  ด้วยเหตุใด ๆ ให้รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร เข้ารับตำแหน่งแทนในระยะเวลาที่เหลือ

            2.  ในปัจจุบันนี้เมื่อผู้ว่าราชการ  และรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  พ้นจากตำแหน่งตามวาระให้จัดการเลือกตั้งใหม่  ภายใน  60  วัน

            3.  ในปัจจุบันเมื่อผู้ว่าราชการ  หรือรองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ว่างลงทั้งหมด  โดยเหตุอื่นนอกจากพ้นตำแหนงตามวาระให้ทำการเลือกตั้งขึ้นใหม่ภายใน  90  วัน

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1103.   ผู้ว่าฯ  หรือรองผู้ว่าฯ  อาจพ้นจากตำแหน่งเมื่อประชาชนออกเสียงเป็นประชามติว่าให้ถอดถอนโดยประชาชนผู้มีสิทธิออกเสียงเป็นประชามติจำนวนเท่าใดจึงจะมีผลให้ผู้ว่าฯ หรือรองผู้ว่าฯ  กทม. พ้นจากตำแหน่ง

            1.  2  ใน  3  ของประชาชนผู้มีสิทธิ

            2.  3  ใน  4  ของประชาชนผู้มีสิทธิ

            3.  1  ใน  2  ของประชาชนผู้มีสิทธิ

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1104.   กรุงเทพมหานคร  มีอำนาจตราข้อบังคับขึ้นใช้ภายใน กรุงเทพมหานคร  เรียกว่า

            1.  ข้อบังคับกรุงเทพมหานคร

            2.  ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร

            3.  เทศบัญญัติกรุงเทพมหานคร

            4.  กรุงเทพกิจจานุเบกษา

1105.   การดำเนินงานของกรุงเทพมหานคร นอกจากมีผู้ว่าราชการ  รองผู้ว่าราชการ  สภากรุงเทพมหานครแล้ว  ยังมีข้าราชการกรุงเทพมหานคร  โดยมี

            1.  ปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งประจำสูงสุด  มีหน้าที่รับผิดชอบควบคุมงานประจำ

            2.  ปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งประจำสูงสุดมีหน้าที่รับผิดชอบควบคุมงานประจำ  และเป็นผู้บังคับบัญชาการกรุงเทพมหานคร

            3.  ปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งประจำสูงสุดมีหน้าที่รับผิดชอบควบคุมงานประจำ  และเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการกรุงเทพมหานคร  รองจากผู้ว่าราชการ

            4.  ปลัดกรุงเทพมหานคร เป็นตำแหน่งประจำสูงสุดมีหน้าที่รับผิดชอบควบคุมงานประจำ  และเป็นผู้บังคับบัญชาการกรุงเทพมหานครรองจากรองผู้ว่าราชการ

1106.   สภากรุงเทพมหานคร  ในปัจจุบัน

            1.  จำนวนสมาชิกถือเกณฑ์ราษฎรหนึ่งแสนคนต่อสมาชิกหนึ่งคนเศษของหนึ่งแสน  ถ้าเกินห้าพันให้นับเป็นหนึ่งแสนคน

            2.  การเลือกตั้งแบ่งเป็น 9 เขตมีการเลือกตั้งสมาชิกสภากรุงเทพมหานคร  จำนวน 45  คน

            3.  สมาชิกสภา กรุงเทพมหานคร มาจากการแต่งตั้งโดยรัฐมนตรีว่าการ กระทรวงมหาดไทย  โดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรี จำนวน  45  คน  

            4.  ถูกทุกข้อ

1107.   กรณีผู้หญิงที่จะสมัครรับเลือกตั้งผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  และ รองผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร  ข้อใดถูกต้อง

            1.  กรณีมีสามีต้องได้รับความยินยอมจากสามี

            2.  ไม่ต้องได้รับความยินยอมจากผู้ใดทั้งสิ้น

            3.  ไม่มีสิทธิสมัคร

            4.  ไม่มีข้อใดถูก

1108.   พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร  พ.ศ. 2528  ให้กรุงเทพมหานคร เป็น

            1.  ทบวงการเมือง

            2.  เมืองหลวงของประเทศ

            3.  ศูนย์กลางการบริหารราชการแผ่นดิน

            4.  นิติบุคคล  และเป็นราชการบริหารส่วนท้องถิ่น
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้