ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนักเรียนอุตุนิยมวิทยา ข้อสอบนักอุตุนิยมวิทยาปฎิบัติการ‏
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนักเรียนอุตุนิยมวิทยา ข้อสอบนักอุตุนิยมวิทยาปฎิบัติการ‏

แชร์กระทู้นี้

1.   กำหนดให้ A, B, C เป็นเซตใด ๆ และ  n[(AÇB¢) Ç (B¢ÈC¢)]    
=  4, n(B)  =  5, n(A
ÇB)  =  2, n(C)  =  7

          จงหาว่า  n(P(A)) – n(P(B))  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

.   1                                                                 .  16                     

.   4                                                                 .  32

      ตอบ    ง.  32

แนวคิด            

                         =    AÇB¢Ç(B¢ÈC¢)

                         =    AÇB¢

                         =    A – B

 สรุปว่าโจทย์ให้  n[(AÇB¢)Ç(B¢ÈC¢)]  =  4

                      ซึ่งคือ      n(A – B)     =    4

                      และ         n(B)            =    5

                                      n(AÇB)    =    2

                      จากสูตร  n(A – B)     =    n(A) – n(AÇB)

                                      n(A)           =    n(A – B) + n(AÇB)

                                                         =    4 + 2

                                                         =    6

                      n(P(A)) – n(P(B))      =       =       =    32                               ตอบ

 

2.   ให้  p(x)  =    เมื่อหาร  p(x)  ด้วย  x – p  หรือ x + q  จะได้คำตอบเท่ากัน

    โดยที่  p ¹ – q แล้ว  p – q  เท่ากับข้อใดต่อไปนี้

1. 1                                              .  -5

2. -7                                            .  -9

      ตอบ   .  -7

 

 

 

 >>ขอบอก<<   เรื่องทฤษฎีบทเศษเหลือ  ปัจจุบันออกสอบทุกปี (ปีละ 1 ข้ออย่าลืมอ่านไปนะครับ!

      แนวคิด    x – p  หาร  P(x)  =    เศษคือ 

                      x + q  หาร  P(x)  =    เศษคือ 

                                         โจทย์บอกว่า  เศษเท่ากัน

                             =   

             =    0        สูตรที่ใช้ x – c  หาร  p(x)  จะเหลือเศษ  p(c)

     =    0

                  =    0

                                         แต่โจทย์ว่า  p ¹ -q   \ p – q + 7  =  0

                                                                                     p – q  =  –7                         ตอบ

 

3.   กำหนดให้      U  =  {1, 2, 3, …, 100}  และ 

      X  =  {xÎU | หรม. (x, 100)  =  1}

      ผลบวกของสมาชิกในเซต  เท่ากับข้อใด

1. 1000                                                       . 3000

2. 2000                                                       . 5050

      ตอบ   ข.  2000

 ข้อนี้จัดว่ายากสำหรับคนที่ไม่เคยเจอโจทย์แบบนี้มาก่อน  แต่ถ้าน้อง ๆ สังเกตข้อสอบ Ent
 ในช่วงหลัง ๆ จะออกลักษณะแบบนี้มาหลายครั้งแล้ว  จึงควรทำความคุ้นเคยเอาไว้ครับ

แนวคิด          หรม. ของ  กับ  100   =   1     และ  100   =  

                      สรุปว่า  คือจำนวนที่   หารไม่ลงตัว  และ  หารไม่ลงตัว

ใช้แผนภาพช่วย

 

                                                                     บริเวณแรเงา      =  A¢ÇB¢

                                                                                               =   U – (AÈB)

 

A  =  {xÎU|2 หาร x ลงตัว}

     =  {2, 4, 6, …, 100}

ผลบวกสมาชิกเซต  A

     =  2 + 4 + 6 + … + 100

     =   [2 + 100]  =  2550

B  =  {xÎU|5 หาร x ลงตัว}

    =  {5, 10, 15, …, 100}

ผลบวกสมาชิกเซต  B

    =  5 + 10 + 15 + … + 100

    =   [5 + 100]  =  1050



 AÇB  =    {xÎU|2 และ 5 หาร x ลงตัว}  =  {xÎU|10 หาร x ลงตัว}

                               =    {10, 20, 30, …, 100}

ผลบวกสมาชิกเซต  AÇB                                          U  =   {1, 2, 3, …, 100}

                                   =    [1 + 100]  =  550             ผลบวกใน  U   =   1 + 2 + … + 100

                                                                                                n(U)   =   [1 + 100]   =  550

      n(A¢ÇB¢)    =    n(U) – n(AÈB)

                            =    n(U) – [n(A) + n(B) – n(AÇB)]

      ผลบวกก็เช่นกัน

                            =    5050 – [2550 + 1050 – 550]

                            =    2,000                                                    ตอบ

                           

                            สูตรที่ใช้     (1)  เรื่องเซต  n(AÈB)  =  n(A) + n(B) – n(AÇB)

                                               (2)  ผลบวก   =  [ ]


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนักอุตุนิยมวิทยาปฎิบัติการ‏ ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

-  ความรู้ด้านอุตุนิยมวิทยาเบื้องต้น

แนวข้อสอบฟิสิกส์ (พร้อมเฉลยละเอียด)

แนวข้อสอบคณิตศาสตร์ (พร้อมเฉลยละเอียด)

- แนวข้อสอบการใช้ภาษาอังกฤษ  Reading

แนวข้อสอบกลศาสตร์ (เฉลยละเอียด)

แนวข้อสอบคำนวนสถิติ(เฉลยละเอียด)

- เวกเตอร์ (เฉลยละเอียด)

คณิตศาสตร์เชิงการจัดและความน่าจะเป็นเบื้องต้น

แคลคูลัสเบื้องต้น 

(เฉลยละเอียด)

- เรขาคณิตวิเคราะห์ 

(เฉลยละเอียด)


ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ 399-

ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +VCD เทคนิคการสอบสัมภาษณ์   ราคา 679 บาท

กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย 
สาคขาบิ๊กซีขอนแก่น ชื่อบัญชี เดโช  พระกาย  ออมทรัพย์
 
โอนเงินแล้วแจ้งที่  
decho.by@hotmail.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

ความหมายของอุตุนิยมวิทยา (Meteorology)

อุตุ (.)= ฤดู นิยม (.)= การกำหนด

อุตุนิยมวิทยา คือ วิทยาศาสตร์ของบรรยากาศและปรากฏการณ์ต่าง ๆ ของอากาศ เช่น ฝน พายุ ฟ้าร้อง ฟ้าแลบ เป็นต้น อุตุนิยมวิทยาเป็นวิชาสาขาหนึ่งของวิชาภูมิฟิสิกส์ (geophysics) การศึกษาอุตุนิยมวิทยาต้องอาศัยวิชาคำนวณฟิสิกส์ และข้อมูลที่ได้จากการตรวจอากาศตามระดับต่างๆ บนพื้นดินและตามบริเวณต่าง ๆ ของโลก

 

กาลอากาศ   (Weather)

ลมฟ้าอากาศ

ปรากฏการณ์ หรือลักษณะอากาศปัจจุบัน หรือในระยะเวลาใกล้ ๆ

อุตุนิยมวิทยาไดนามิก

การศึกษาอุตุนิยมวิทยาไดนามิกต้องอาศัย การศึกษากฎและทฤษฎีกลศาสตร์ของของเหลว (fluid mechanics of hydrodynamic) เพื่อที่จะนำมาอธิบายพฤติการณ์ของบรรยากาศ ในขณะนั้น และเพื่อการพยากรณ์อากาศล่วงหน้า

อุตุนิยมวิทยาแผนที่อากาศ

การศึกษาอุตุนิยมวิทยาแผนที่อากาศ อาศัยการศึกษาข้อมูลตรวจอากาศจากบริเวณกว้าง เพื่อที่จะทราบสภาวะของบรรยากาศ และเพื่อการพยากรณ์อากาศล่วงหน้าเช่นกัน

 

 

อุตุฯไดนามิก vs อุตุฯแผนที่อากาศ

หรืออาจกล่าวได้ว่าอุตุนิยมวิทยาไดนามิก เป็นการศึกษาด้านทฤษฎี ส่วนอุตุนิยมวิทยาแผนที่อากาศ เป็นการศึกษา ลักษณะของอากาศในปัจจุบันหรือประจำวัน ซึ่งเรียกว่า " กาลอากาศ"

 

ภูมิอากาศ  (Climat)

ภูมิอากาศ หมายถึงการศึกษาสภาพของบรรยากาศ ลมฟ้าอากาศ หรืออากาศประจำถิ่นของบริเวณใดบริเวณหนึ่ง เพื่อที่จะนำไปช่วยในการพยากรณ์อากาศ และนำไปใช้เป็นประโยชน์ในกิจการต่าง ๆ จากคำอธิบายนี้ จะเห็นได้ว่า ภูมิอากาศก็คือผลเฉลี่ยระยะยาวของอุณหภูมิ ฝน ลม และสารประกอบอุตุนิยมวิทยาอื่น ๆ ของกาลอากาศนั่นเอง

 

กาลอากาศ vs ภูมิอากาศ

หรืออาจจะกล่าวได้ว่า กาลอากาศ คือพฤติการณ์หรือปรากฏการณ์ของกาลอากาศปัจจุบัน ส่วนภูมิอากาศเป็นผลเฉลี่ยของกาลอากาศปัจจุบัน ส่วนภูมิอากาศเป็นผลเฉลี่ยของกาลอากาศในระยะยาว (ตามธรรมดาตั้งแต่ ๓๐ หรือ ๓๕ ปีขึ้นไป) ตัวอย่างเช่น วันนี้กาลอากาศของกรุงเทพมหานครมีฝนตก ส่วนกรุงเทพมหานครนั้น อยู่ในภูมิอากาศของโซนร้อนและชื้น เป็นต้น

 

ภูมิอากาศ

ภูมิอากาศ คือ ผลสรุปหรือผลเฉลี่ยระยะยาวของสภาพอากาศหรือกาลอากาศจากระยะเวลานานประมาณ ๓๐ หรือ ๓๕ ปีขึ้นไป

ภูมิอากาศของบริเวณใดจะร้อนหรือเย็น จะแห้งแล้งหรือชุ่มชื้นนั้น ขึ้นอยู่กับเหตุผลหลายประการ

 

ปัจจัยที่มีผลต่อภูมิอากาศ

1. ความเข้มของรังสีจากดวงอาทิตย์ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับละติจูด คือ ในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรย่อมได้รับความร้อนมากกว่าที่บริเวณขั้วโลก

2. บริเวณนั้นอยู่ใกล้พื้นน้ำหรือผืนแผ่นดิน บริเวณที่อยู่ใกล้พื้นน้ำหรือทะเลจะมีอุณหภูมิเปลี่ยนแปลงเพียงเล็กน้อย ส่วนบริเวณที่อยู่ลึกเข้าไปในแผ่นดิน อุณหภูมิจะเปลี่ยนแปลงได้มาก

3. ความสูงของพื้นที่ บริเวณที่อยู่สูงย่อมจะเย็นกว่าบริเวณที่ต่ำกว่า

4. ทิศทางของกระแสลมและกระแสน้ำ ทั้งสองอย่างนี้เป็นสิ่งที่บังคับอุณหภูมิให้ร้อนหรือเย็นได้

5. เทือกเขา ซึ่งสามารถกั้นอากาศร้อนหรือเย็นไม่ให้ผ่านได้นอกจากนี้ด้านรับลมของภูเขาจะมีฝนตกมากกว่าบริเวณด้านอับลม

6. เส้นทางเดินของพายุ จะทำให้ฝนตกชุกตามบริเวณนั้นๆ มาก

1. ความเข้มของรังสีจากดวงอาทิตย์

ขึ้นอยู่กับละติจูด คือ ในบริเวณใกล้เส้นศูนย์สูตรย่อมได้รับความร้อนมากกว่าที่บริเวณขั้วโลก

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้