ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนิติกรปฎิบัติการ  สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนิติกรปฎิบัติการ  สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง

แชร์กระทู้นี้

1.          พระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ไม่ใช่บังคับองค์กรหรือหน่วยราชการตามข้อใด

       
ก.  รัฐสภาและคณะรัฐมนตรี

       
ข.  การดำเนินงานตามกระบวนการยุติธรรมทางอาญา

       
ค.  การดำเนินกิจการทางศาสนา

       
ง.  ถูกทุกข้อ


ข้อใดเป็นคำสั่งทางปกครอง

       
ก.  คำสั่งของเจ้าหน้าที่ซึ่งใช้อำนาจตามกฎหมายในการสั่งและมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล

       
ข.  การอนุญาตหรือไม่อนุญาตอันก่อให้เกิดสิทธิหรือระงับซึ่งสิทธิของบุคคล

       
ค.  การวินิจฉัยของเจ้าหน้าที่อันมีผลกระทบต่อสถานภาพของสิทธิหรือหน้าที่ของบุคคล

       
ง.  ถูกทุกข้อ

3.   
คำว่า "กฎ" ตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง หมายถึงข้อใด

       
ก.  พระราชกฤษฎีกา                                       ข.  กฎกระทรวง

       
ค.  ประกาศกระทรวง และข้อบังคับท้องถิ่น               ง.  ถูกทุกข้อ

4.   
บุคคลตามข้อใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

       
ก.  นายกรัฐมนตรี                                          ข.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

       
ค.  รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม                        ง.  อธิบดีกรมการปกครอง

5.   
บุคคลตามข้อใดเป็นประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

       
ก.  นายกรัฐมนตรี                                         ข.  รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี

       
ค.  ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี                                ง.  บุคคลซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้ง

6.   
ผู้ดำรงตำแหน่งประธานในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง ต้องเป็นบุคคลตามข้อใด

       
ก.  เป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง

       
ข.  ต้องเป็นผู้ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

       
ค.  ต้องเป็นผู้มีความเชี่ยวชาญในทางนิติศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ รัฐศาสตร์ สังคมศาสตร์   

       
ง.  ต้องอายุไม่เกิน 50 ปีบริบูรณ์

7.   
ผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการวิธีการปฏิบัติราชการทางปกครอง กำหนดจำนวนไว้ตามข้อใด

       
ก.  ไม่น้อยกว่า 3 คน แต่ไม่เกิน 5 คน                    ข.  ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 7 คน

       
ค.  ไม่น้อยกว่า 5 คน แต่ไม่เกิน 9 คน                    ง.  ไม่น้อยกว่า 7 คน แต่ไม่เกิน 9 คน

8.   
บุคคลข้อใดที่ทำตามหน้าที่เลขานุการในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

       
ก.  เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกา

       
ข.  เลขาธิการคณะรัฐมนตรี

       
ค.  ข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิการคณะกรรมการกฤษฎีกาแต่งตั้ง

       
ง.  ข้าราชการของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาที่เลขาธิการคณะรัฐมนตรีแต่งตั้ง

9.   
กรรมการในคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองที่คณะรัฐมนตรีแต่งตั้งมีวาระ คราวละกี่ปี

       
ก.  2 ปี                ข.  3 ปี                      ค.  4 ปี                       ง.  5 ปี

10. 
หน่วยงานที่ทำหน้าที่สำนักงานเลขานุการของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครองคือข้อใด

       
ก.  สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา                        ข.  สำนักงานคณะกรรมการรัฐมนตรี

       
ค.  สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน               ง.  กรมการปกครอง

11. 
ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง

       
ก.  สอดส่องดูแลและให้คำแนะนำเกี่ยวกับงานของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้

       
ข.  เสนอแนะในการตราพระราชกฤษฎีกาและการออกกฎกระทรวงหรือประกาศตามพระราชบัญญัตินี้

       
ค.  พิจารณาคดีทางการปกครอง

       
ง.  จัดทำรายงานเกี่ยวกับการปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้เสนอนายกรัฐมนตรี

12. 
เจ้าหน้าที่ตามข้อใดทำการพิจารณาทางปกครองได้

       
ก.  เป็นคู่กรณีในคดี                         ข.  เป็นเจ้าหนี้หรือลูกหนี้ หรือเป็นนายจ้างของคู่กรณี

       
ค.  เป็นผู้บังคับบัญชาของคู่กรณี             ง.  เป็นผู้บังคับบัญชาของคู่กรณีในคดี

13. 
บุคคลตามข้อใดเป็นคู่กรณีในการพิจารณาปกครองได้

       
ก.  บุคคลธรรมดา                       ข.  คณะบุคคล         
        
ค.  นิติบุคคล                              ง.  ถูกทุกข้อ

14. 
บุคคลตามข้อใดเป็นตัวแทนร่วมของคู่กรณี ในกรณีที่มีคู่กรณีเกิน 50 คนยื่นคำขออย่างเดียวกันได้

       
ก.  บุคคลธรรมดา                       ข.  คณะบุคคล                 
        
ค.  นิติบุคคล                             ง.  ถูกทุกข้อ

15. 
กรณีที่คำขอหรือคำแถลงของคู่กรณีในการพิจารณาทางปกครอง มีข้อบกพร่องอันเกิดจากความไม่รู้ของคู่กรณี เจ้าหน้าที่จะดำเนินการตามข้อใด

       
ก.  ให้จำหน่ายเรื่องออกการพิจารณา

       
ข.  ให้เจ้าหน้าที่แนะนำให้คู่กรณีแก้ไขเพิ่มเติมให้ถูกต้อง

       
ค.  ให้เจ้าหน้าที่แก้ไขให้ถูกต้อง

       
ง.  ให้พิจารณาไปตามข้อเท็จจริงเพียงเท่าที่มีอยู่

16. 
ในการพิจารณาทางปกครอง เจ้าหน้าที่สามารถดำเนินการได้ตามข้อใด

       
ก.  สามารถตรวจสอบข้อเท็จจริงตามความเหมาะสม

       
ข.  ไม่ผูกพันอยู่กับคำขอของคู่กรณี

       
ค.  ไม่ต้องผูกพันกับพยานหลักฐานของคู่กรณี

       
ง.  ถูกทุกข้อ

17. 
ในการจัดพิจารณาพยานหลักฐานเพื่อพิสูจน์ข้อเท็จจริง เจ้าหน้าที่มีอำนาจดำเนินการตามข้อใด

       
ก.  แสวงหาพยานหลักฐานทุกอย่างที่เกี่ยวข้อง

       
ข.  ขอให้ผู้ครอบครองเอกสารส่งเอกสารที่เกี่ยวข้อง

       
ค.  ออกไปตรวจสถานที่

       
ง.  ถูกทุกข้อ

18. 
การดำเนินการของเจ้าหน้าที่ตามข้อใดไม่ถูกต้องในกรณีที่คำสั่งทางการปกครองจะกระทบถึงสิทธิของคู่กรณี

       
ก. เจ้าหน้าที่ให้คู่กรณีมีโอกาสได้ทราบข้อเท็จจริงและมีโอกาสโต้แย้งแสดงพยานหลักฐานของตน

       
ข.  เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณีทราบข้อเท็จจริงเนื่องจากเป็นมาตรการบังคับทางการปกครอง

       
ค.  เจ้าหน้าที่ให้โอกาสคู่กรณีโต้แย้งหลักฐานจะก่อให้เกิดผลเสียหายอย่างร้ายต่อประโยชน์

       
ง. เจ้าหน้าที่ไม่ให้โอกาสคู่กรณีได้ทราบข้อเท็จจริงเนื่องจากจะทำให้เวลาที่กฎหมายกำหนดไว้
 
19. 
คู่กรณีมีสิทธิขอตรวจดูเอกสารที่จำเป็นต้องรู้เพื่อการโต้แย้งสิทธิหรือชี้แจงหรือป้องกันสิทธิของตนได้ การขอ ดังกล่าวไม่รวมถึงการขอในข้อใด

       
ก.  ขอตรวจดูเอกสารต้นร่างคำวินิจฉัย ในขณะที่ยังไม่ได้ทำคำสั่งทางปกครอง

       
ข.  ขอสำเนาเอกสารที่เป็นพยานหลักฐานทั้งหมด

       
ค.  ขอดูหลักฐานที่เจ้าหน้าที่เก็บรักษาไว้

       
ง.  มีสิทธิขอดูได้ทุกกรณี

20. 
รูปแบบคำสั่งทางการปกครองในข้อใดไม่ถูกต้อง

       
ก.  ทำเป็นหนังสือ

       
ข.  เป็นคำสั่งด้วยวาจาก็ได้

       
ค.  สั่งทางจดหมายอิเล็คทรอนิกส์

       
ง.  คำสั่งทางปกครองอาจใช้รูปแบบได้ทั้งข้อ ก , ข และข้อ ค

21. 
ในกรณีคำสั่งทางปกครองเป็นคำสั่งด้วยวาจา ถ้าผู้รับสั่งร้องขอภายในกี่วันนับแต่วันมีคำสั่งเจ้าหน้าที่ต้องยืนยันคำสั่งนั้นเป็นหนังสือ

       
ก.  3 วัน                                 ข.  5 วัน                                     
        
ค.  7 วัน                                 ง.  15 วัน

22. 
เหตุผลที่ต้องจัดให้มีไว้ในคำสั่งทางปกครองที่ทำเป็นหนังสือ คือข้อใด

       
ก.  ข้อเท็จจริงอันเป็นสาระสำคัญ

       
ข.  กฎหมายที่ใช้อ้างอิง

       
ค.  ข้อพิจารณาและข้อสนับสนุนในการใช้ดุลยพินิจ

       
ง.  ต้องมีเหตุผลทั้งในข้อ ก ข และ ค

23. 
ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง

       
ก.  ให้คู่กรณีอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองต่อเจ้าหน้าที่ทำคำสั่งภายใน15วันนับวันที่ได้รับแจ้งคำสั่ง

       
ข.  การอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองสามารถอุทธรณ์ด้วยวาจาได้

       
ค.  การอุทธรณ์ไม่เป็นเหตุให้ทุเลาการบังคับตามคำสั่งทางปกครอง

       
ง.  เจ้าหน้าที่ต้องแจ้งผู้อุทธรณ์ภายในไม่เกิน 30 วันนับแต่วันที่ได้รับการอุทธรณ์

24. 
ในการพิจารณาอุทธรณ์ เจ้าหน้าที่มีอำนาจพิจารณาในประเด็นตามข้อใด

       
ก.  พิจารณาในประเด็นปัญหาข้อเท็จจริง

       
ข.   พิจารณาประเด็นปัญหาข้อกฎหมาย

       
ค.  พิจารณาความเหมาะสมของการทำคำสั่งทางการปกครอง

       
ง.  ถูกทุกข้อ

25. 
การเพิกถอนคำสั่งทางการปกครองที่มีลักษณะเป็นการให้ประโยชน์ต้องกระทำภายในกี่วันนับแต่ได้รู้ถึงเหตุ

       
ที่จะให้เพิกถอนคำสั่งทางการปกครองนั้น

       
ก.  30 วัน                      ข.    60 วัน         
       
ค.  90 วัน                      ง.  120 วัน


 

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบนิติกรปฎิบัติการ  สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง  ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ รวมแนวข้อสอบเก่าเด็ดๆๆ  และข้อสอบที่ออกบ่อยมาก 

ประกอบด้วย

- แนวข้อสอบกฏหมายปกครอง

- เเนวข้อสอบรัฐธรรมนูญเเห่งราชอาณาจักรไทย 2550

- แนวข้อสอบวิชาประมวลกำหมายวิธีพิจารณาความอาญา

- แนวข้อสอบนโยบายตรวจเงินแผ่นดินและพระราชบัญญัติเงินคงคลัง

- แนวสรุปแนวข้อสอบพระราชบัญญัติวิธีการงบประมาณ
- แนวแนวข้อสอบความรู้เกี่ยวกับการเงินและการงานคลัง

- แนวข้อสอบวิธีพิจารณาความแพ่ง

สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย

 บิ๊กซีขอนแก่น
decho pragay  ออมทรัพย์
โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com

สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1. ในกรณีที่มูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรือท่าอากาศยานไทยที่อยู่นอกราชอาณาจักรให้ศาลใดเป็นศาลที่มีเขตอำนาจ
    ก. ศาลที่เป็นภูมิลำเนาของผู้เสียหายในกรณีที่ผู้เสียหายมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาราจักร
    ข. ศาลทหาร
    ค. ศาลแพ่ง
    ง. ศาลที่เป็นภูมิลำเนาของผู้ต้องหาในกรณีที่ผู้ต้องหามีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร
คำตอบ :  ข้อ ค.  ป.วิ.พ.  มาตรา 3 (1) กำหนดให้ “เพื่อประโยชน์ในการเสนอคำฟ้อง
1. กรณีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นในเรือไทยหรืออากาศยานไทยที่อยู่ในราชอาราจักรให้ศาลแพ่งเป็นศาลที่มีเขตอำนาจ ......”
2. ข้อใดไม่ใช่คำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์ หรือสิทธิหรือประโยชน์อันเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์
    ก. ฟ้องบังคับให้โอนที่ดิน
    ข. ฟ้องเกี่ยวกับสิทธิเก็บกิน
    ค. คำฟ้องเกี่ยวกับสิทธิยึดหน่วงโฉนด
    ง. ฟ้องขับไล่ออกจากบ้านพิพาท
คำตอบ :  ข้อ ค. เพราะคำฟ้องเกี่ยวกับสิทธิยึดหน่วงโฉนด ไม่ใช่คำฟ้องเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ (คำพิพากษาฎีกาที่  1428-1429/2514)
3. คำฟ้องในคดีซึ่งจำเลยมิได้มีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาราจักรและมูลคดีมิได้เกิดขึ้นในราชอาณาจักร ถ้าโจทก์เป็นผู้มีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักร ให้ฟ้องคดีต่อศาลต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
    ก. ศาลแพ่ง
    ข. ศาลที่โจทก์มีภูมิลำเนา
    ค. ศาลที่จำเลยมีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับได้ในราชอาณาจักรอยู่ในเขต
    ง.  ศาลที่โจทก์มีทรัพย์สินอยู่ในภูมิลำเนาอยู่ในเขต
คำตอบ :  ข้อ ง. เพราะ ป.วิ.พ. มาตรา 4 ตรี  กำหนดว่า “ คำฟ้องอื่นนอกจากที่บัญญัติไว้ในมาตรา 4 ทวิ ซึ่งจำเลยมิได้ภูมิลำเนาอยู่ในราชอาณาจักรและมูลคดีมิได้เกิดขึ้นในราชอาราจักร ถ้าโจทก์เป็นผู้มีสัญชาติไทยหรือมีภูมิลำเนาอยู่ในราชอาราจักร ให้เสนอต่อศาลแพ่งหรือศาลที่โจทก์มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตศาล
    คำฟ้องตามวรรคหนึ่ง ถ้าจำเลยมีทรัพย์สินที่อาจถูกบังคับคดีได้อยู่ในราชอาณาจักร ไม่ว่าจะเป็นการชั่วคราวหรือถาวร โจทก์จะเสนอคำฟ้องต่อศาลที่ทรัพย์สินนั้นอยู่ในเขตศาลก็ได้ ”
4. ในคดีร้องขอตั้งผู้จัดการมรดกเรื่องหนึ่ง ข้อเท็จจริงมีว่าผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและถึงแก่ความตายที่จังหวัดพิจิตร แต่ผู้ตายอยู่กินเป็นสามีภริยากับผู้ร้องนานถึง  20 ปี ที่จังหวัดสมุทรปราการและได้ซื้อที่ดินไว้ที่จังหวัดสมุทรปราการด้วย ดังนี้ถ้าผู้ร้องจะร้องของจัดการมรดก ต้องร้องต่อศาลใดจึงจะเป็นศาลที่มีเขตอำนาจ
    ก. ศาลจังหวัดพิจิตร
    ข. ศาลจังหวัดสมุทรปราการ
    ค. ศาลแพ่ง
    ง. ข้อ ก และ ข ถูก
คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะแม้ผู้ตายมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านและถึงแก่ความตายที่จังหวัดพิจิตร แต่ผู้ตายอยู่กินเป็นสามีภริยากับผู้ร้องนานถึง 20 ปี ที่จังหวัดสมุทรปราการและได้ซื้อที่ดินไว้ที่จังหวัดสมุทรปราการด้วย แสดงว่าผู้ตายมีบ้านอยู่ที่จังหวัดสมุทรปราการเป็นสถานที่อยู่อันเป็นแหล่งสำคัญอีกแหล่งหนึ่งด้วย ดังนั้น นอกจากบ้านที่จังหวัดพิจิตรแล้วก็ยังถือได้ว่าบ้านที่จังหวัดสุมทรปราการเป็นภูมิลำเนาเป็นภูมิลำเนาของผู้ตายอีกแห่งหนึ่งด้วย เพราะในคดีร้องขอจัดการมรดกนั้นอาจจะมีศาลที่จะยื่นคำร้องขอได้หลายศาล ( คำพิพากษาฎีกาที่  5912/2539)
5. ต่อไปนี้ข้อใด ไม่ใช่ลักษณะคดีที่เป็นคดีเดียวแต่อยู่ในเขตอำนาจศาลหลายศาลได้
    ก. คดีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นหลายท้องที่ที่อยุ่ในเขตศาลต่างกัน
    ข. คดีที่มีหลายข้อหา
    ค. คดีตั้งอยู่ในเขตศาลหลายศาล
    ง. ไม่มีข้อถูก
คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะคดีที่อยู่ในเขตอำนาจศาลหลายศาล ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 5 ได้แก่
1. คดีฟ้องจำเลยร่วมกันหลายคนที่มูลความแห่งคดีเกี่ยวข้องกัน แต่ละคนมีภูมิลำเต่างกัน
2. คดีที่มีมูลคดีเกิดขึ้นหลายท้องที่ที่อยู่ในเขตศาลต่างกัน
3. คดีที่มีหลายข้อหา
4. คดีตั้งอยู่ในเขตศาลหลายศาล
ในคดีที่มีหลายศาลมีอำนาจเหนือคดีนั้น  โจทก์จะยื่นฟ้องจำเลยทุกคนต่อศาลหนึ่งศาลใดก็ได้หรือฟ้องจำเลยแต่ละคนในแต่ละเขตศาลก็ได้ แต่ในทางปฏิบัติไม่มี เพราะเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีโดยใช่เหตุ การยื่นฟ้องต่อศาลใดที่มีเขตอำนาจนั้นเป็นสิทธิ์ของโจทก์ จึงไม่ต้องขออนุญาตศาล และศาลที่โจทก์เสนอคำฟ้องนั้นจะเกี่ยงไปให้ฟ้องยังอีกศาลหนึ่งไม่ได้เพราะเป็นหน้าที่
6. ข้อใดไม่ใช่หลักในเรื่องการขอโอนคดี
    ก. ต้องมีศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีนั้นตั้งแต่สองศาลขึ้นไป
    ข. จำเลยเท่านั้นมีสิทธิขอโอนคดี
    ค. การพิจารณาคำร้องขอโอนคดีจะต้องฟังโจทก์และคู่ความอื่น ถ้ามี ก่อนว่าจะคัดค้านอย่างไร    หรือไม่
    ง. ถ้าศาลที่รับโอนคดีไม่ยินยอม ศาลเดิมจะต้องส่งเรื่องให้ประธานศาลฎีกาชี้ขาด และคำสั่งสอน    ของประธานศาลฎีกาเป็นที่สุด
คำตอบ :  ข้อ  ง. เพราะ ถ้าศาลที่รับโอนคดีไม่ยินยอม ศาลเดิมจะต้องส่งเรื่องให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ขาด และคำสั่งของอธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์เป็นที่สุด ตาม ป.วิพ. มาตรา 8
7. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์ของการรวมคดีที่มีเขตอำนาจศาลต่างกัน
    ก. ศาลที่รับโอนคดีจะต้องมีอำนาจเหนือคดีที่รับโอน
    ข. คดีมีประเด็นอย่างเดียวกันหรือเกี่ยวเนื่องกันอยู่ในระหว่างการพิจารณาของศาลชั้นต้นต่างศาล    กัน แม้กฎหมายจะใช้คำว่าคดีสองเรื่องแต่ก็ไม่จำเป็นจะต้องเป็นเรื่องสองเรื่องเสมอไปอาจจะมี    มากกว่าสองเรื่องก็ได้ สองศาลก็ได้
    ค.  คู่ความในคดีที่ค้างพิจารณาอยู่นั้นมีสิทธิที่จะรวมคดีได้ ก่อนศาลชั้นต้นมีคำพิพากษาคู่ความใน    คดีหนึ่งคดีใดก็ได้
    ง. คู่ความขอดอนคดีไปรวมที่ศาลใดก็ได้และศาลที่จะโอนไปรวมนั้นต้องถามศาลที่รับโอนก่อนว่า    ยินยอมที่จะรับโอนหรือไม่
คำตอบ :  ข้อ ก. เพราะศาลที่รับดอนคดีจะมีอำนาจเหนือคดีที่รับโอนหรือไม่ ไม่ใช่ข้อสำคัญ เพราะเป็นเรื่องการรวมคดีจากศาลหนึ่งไปรวมกับอีกศาลหนึ่ง แม้จะเรียกว่าเป็นการโอนก็ตาม แต่ก็ไม่ใช่เรื่องการโอน ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 6 เป็นการโอนไปรวมพิจารณากับอีกศาลหนึ่ง ตาม ป.วิ.พ. มาตรา 8
8. ข้อใดต่อไปนี้เป็นสาระสำคัญในเรื่องการขอรวมคดีที่มีเขตอำนาจศาลซ้อนกันหรือการขอรวมคดีที่อยู่ในเขตอำนาจศาลหลายศาล
    ก. มีคดีหลายเรื่องค้างพิจารณาในศาลชั้นต้นเดียวกันหรือต่างศาลกัน
    ข. การขอรวมของคู่ความ อาจจะขอมาในชั้นที่ยื่นคำให้การหรือยื่นคำร้องต่อศาลที่พิจารณาคดีนั้นๆ    ก่อนศาลมีคำพิพากษาซึ่งศาลที่รับคำร้องจะต้องสอบถามคู่ความฝ่ายอื่นเสียก่อน
    ค. ศาลที่จะรับดอนคดีไปรวมต้องเป็นศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีที่โอนมาด้วย ถ้าไม่มีเขตอำนาจ    เหนือคดีนั้นจะรับโอนมาไม่ได้
    ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ :  ข้อ ง. เพราะตามบทบัญญัติของ ป.วิ .พ. มาตรา 28 มีสาระสำคัญในเรื่องการขอรวมคดีที่มีเขตอำนาจศาลซ้อนกันดังนี้
1. มีคดีหลายเรื่องค้างพิจารณาในศาลชั้นต้นเดียวกันหรือต่างศาลกัน
2. คดีที่ค้างพิจารณานั้นคู่ความทั้งหมดหรือแต่บางฝ่ายเป็นคู่ความรายเดียวกัน คือ อาจจะเป็นโจทก์คนเดียวกันหรือจำเลยคนเดียวกันหรือทั้งโจทก์ทั้งจำเลยเป็นคนเดียวกันก็ได้หรือถ้ามีผู้ร้องสอดก้อาจจะมีผู้ร้องสอดคนเดียวกันก็ได้
3. คดีที่ค้างพิจารณานั้นมีความเกี่ยวเนื่องกัน
4. การนำคดีมารวมกันนั้นจะทำให้เกิดความสะดวกในการพิจารณา
5. คู่ความฝ่ายหนึ่งฝ่ายใดจะขอให้มีการรวมพิจารณาหรือศาลเห็นจะให้มีการรวมพิจารณาก็ได้
6. การขอรวมของคู่ความ อาจจะขอมาในชั้นที่ยืนคำให้การหรือยื่นคำร้องต่อศาลที่พิจารณาคดีนั้นๆก่อนศาลมีคำพิพากษา ซึ่งศาลที่รับคำร้องจะต้องสอบถามคู่ความฝ่ายอื่นเสียก่อน
7. เมื่อศาลที่รับคำร้องรวมเห็นสมควรให้รวม ถ้าเป็นคดีศาลเดียวกันก็สั่งรวมพิจารณาได้เลย แต่ถ้าเป้นเรื่องต่างศาลกันแล้ว ศาลที่โอนไปรวมต้องสอบถามศาลที่จะรับโอนไปรวมเสียก่อนถ้าศาลที่รับโอนไปรวมไม่ขัดข้องก็สั่งให้โอนไปรวมได้
8. ศาลที่จะรับโอนคดีไปรวมต้องเป็นศาลที่มีเขตอำนาจเหนือคดีที่โอนมาด้วยถ้าไม่มีเขตอำนาจเหนือคดีนั้นจะรับโอนมาไม่ได้ ไม่เหมือนกับการโอนมารวม ตามมาตรา 8 เพราะว่าการโอนมารวมตามมาตรา 8 เป็นเรื่องต่างเขตอำนาจกัน
9. ถ้าศาลที่รับดอนไปรวมไม่ยินยอมศาลที่จะโอนไปรวมก็ต้องส่งเรื่องให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ชี้ขาดว่าจะให้โอนไปรวมหรือไม่ ไม่ว่าศาลชั้นต้นที่มีคดีค้างพิจารณาอยู่ในเขตอำนาจของศาลอุทธรณ์ภาคใดก็ต้องส่งเรื่องให้อธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ คำสั่งของอธิบดีผู้พิพากษาศาลอุทธรณ์ถือเป็นที่สุด
9. ข้อใดไม่ใช่หลักเกณฑ์การขอบังคับคดีนอกเขตศาล
    ก. มีการออกหมายบังคับคดี ตามขั้นตอนที่บัญญัติไว้ใน ป.วิ.พ. มาตรา  275 แล้ว
    ข. ต้องเป็นกรณีที่ปรากฏว่าทรัพย์หรือบุคคลที่จะต้องบังคับหรือจะต้องถูกบังคับอยู่นอกเขตศาลที่    ออกหมายบังคับคดี
    ค. เจ้าหน้าที่ตามคำพิพากษา ยื่นคำแถลงต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือทรัพย์และบุคคลที่จะต้องถูก    บังคับ หรือเจ้าหน้าที่บังคับคดีรายงานให้ศาลมีเขตอำนาจทราบว่าจะต้องมีการบังคับคดีต่อทรัพย์    หรือบุคคลที่อยู่ในเขตศาลนั้น
    ง. เจ้าหน้าที่ตามคำพิพากษา ยื่นคำร้องต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือทรัพย์และบุคคลที่จะต้องถูก    บังคับ หรือเจ้าหน้าที่บังคับคดีรายงานให้ศาลมีเขตอำนาจทราบว่าจะต้องมีการบังคับคดีต่อทรัพย์    หรือบุคคลที่อยู่ในเขตศาลนั้น
คำตอบ :  ข้อ ง. เพราะเจ้าหนี้ตามคำพิพากษา  ยื่นคำแถลงต่อศาลที่มีเขตอำนาจเหนือทรัพย์และบุคคลที่จะต้องถูกบังคับ หรือเจ้าหน้าที่บังคับคดีรายงานให้ศาลมีเขตอำนาจทราบว่าจะต้องมีการบังคับคดีต่อทรัพย์หรือบุคคลที่อยู่ในเขตศาลนั้น
10. ในเรื่องอำนาจในการพิจารณาเนื้อหาของคำคู่ความ ในการพิจารณาเนื้อหาศาลมีทางที่จะสั่งได้ 3 ทาง ต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
    ก. สั่งให้แก้ไข เอเนื้อหาไม่ถูกต้อง
    ข. สั่งรับคำคู่ความนั้นไว้พิจารณา เมื่อเห็นว่าชอบด้วยกฎหมาย
    ค. สั่งไม่รับคำคู่ความนั้นถ้าเห็นว่าไม่ชอบด้วยกฎหมาย
    ง. สั่งให้คืนไป เพื่อยื่นต่อศาลที่มีเขตอำนาจ เมื่อยื่นผิดศาล
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้