ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบกรมชลประทาน  ทุกตำแหน่ง
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบกรมชลประทาน  ทุกตำแหน่ง

แชร์กระทู้นี้

การชลประทาน 


       ในอดีตกาลการชลประทาน คือกิจการที่มนุษย์ทำขึ้นเพื่อพัฒนาแหล่งน้ำ จัดหาน้ำสำหรับใช้ในการเพาะปลูก ได้แก่ การทดน้ำ การส่งน้ำ การระบายน้ำ และควบคุมการใช้น้ำเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรให้ได้มากที่สุด แต่ปัจจุบัน ทรัพยากรน้ำตามแหล่งน้ำต่าง ๆ ซึ่งนอกจากเป็นปัจจัยที่สำคัญยิ่งในการดำรงชีวิตของมนุษย์ แล้วยังมีความสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และรักษาสภาพสิ่งแวดล้อม ดังนั้น การชลประทานจึงไม่ได้จัดหาน้ำมาได้ใช้เพื่อการเพาะปลูกแต่เพียงอย่างเดียว ยังต้องจัดหาน้ำมาใช้ในด้านอื่น ๆ พระราชบัญญัติการชลประทานหลวงพุทธศักราช ๒๔๘๕ จึงให้ความหมายการชลประทานว่าเป็นกิจการที่จัดทำขึ้นเพื่อให้ได้มาซึ่งน้ำ หรือเพื่อกัก เก็บ รักษา ควบคุม ส่ง ระบาย หรือแบ่งน้ำ เพื่อการเกษตรกรรม การพลังงาน การสาธารณูปโภค หรือการอุตสาหกรรม และหมายความรวมถึงการป้องกันความเสียหายอันเกิดจากน้ำ รวมถึงการคมนาคมทางน้ำ ซึ่งอยู่ในเขตพื้นที่ชลประทานด้วย

ประกอบด้วย

1.เขื่อน
2.ฝาย
3. อ่างเก็บน้ำ

วัตถุประสงค์ของการชลประทาน

1.เพื่อให้ดินมีความชุ่มชื้นพอเหมาะกับการเจริญเติบโตของพืช

2. เพื่อให้พืชมีน้ำใช้ตลอดฤดูการเพาะปลูก

3.เพื่อชะล้างและละลายเกลือในดินในเขตรากพืช

4.สามารถปลูกพืชได้หลายครั้งต่อ ปี

5.เพื่อทำให้ดินอ่อนนุ่ม สะดวกต่อการเตรียมดินและรากสามารถขยายตัวดีขึ้น

ดินสำหรับการชลประทาน( Soils for Irrigation)

           หมายถึง วัตถุที่เป็นส่วนประกอบของสารซึ่งเกิดจากการสลายตัวและผุกร่อนของหิน อินทรีย์วัตถุ น้ำ และก๊าซ ซึ่งทำหน้าที่เป้นเครื่องยึดเหนี่ยวของลำต้น และเป็นคลังเก็บอาหาร และน้ำ ไว้ให้เพื่อใช้สำหรับการเจริญเติบโต 


           คุณสมบัติของดินที่เหมาะแก่การเจริญเติบโตของพืช
           
1. สามารถอุ้มน้ำไว้ให้พืชใช้ได้ ปริมาณน้ำที่เก็บไว้ได้จะต้องไม่น้อยเกินไป จนต้องให้น้ำบ่อย ๆ
           2. มีการระบายน้ำและถ่ายเทอากาศได้ดี
           3. มีแร่ธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืชอยู่มากพอ
           4. ความเข้มข้นของสารเคมีหรือเกลือในดินจะต้องไม่มากจนเป็นอันตรายต่อพืช
           

           ชนิดของดิน
  1.ดินทราย (Sands) ประกอบด้วยทรายมากกว่า 85 %ดังนั้นจะมีลักษณะร่วน เมล็ดดินไม่เกาะกันแต่ละเมล็ดสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เมื่อกำให้แน่นในมือขณะที่ดินแห้งแล้วคลายมือออกจะแตกร่วน ถ้ากำในขณะที่เปียกชื้นจะเป็นก้อนแต่แตกออกได้ง่ายเมื่อใช้นิ้วแตะเบา ๆ
 2. ดินร่วนปนทราย (Sandy Loam) เป็นดินที่ประกอบด้วยทรายมากกว่า 50 % แต่ก็มีตะกอนทรายและอนุภาคดินเหนียว มากพอที่จะประสานให้เกาะกันเป็นก้อนได้ ทรายแต่ละเมล็ดสามารถมองเห็นและสัมผัสได้ เมื่อกำให้แน่นในมือ ขณะที่ดินแห้งจะเป็นก้อนแต่แตกออกจากกันได้ง่าย ถ้ากำในขณะที่เปียกชื้นจะเป็นก้อนและไม่แตกเมื่อใช้นิ้วแตะเบา ๆ
 3. ดินร่วน (Loam) เป็นดินซึ่งมีส่วนประกอบของทราย ตะกอนทรายและอนุภาคดินเหนียว มากเกือบพอๆ กัน เปอร์เชนต์อนุภาคดินเหนียวต่ำกว่าทราย และตะกอนทรายเล็กน้อย มีลักษณะอ่อนนุ่มเมื่อจับ เมื่อเปียกจะเหนียวเล็กน้อย ถ้ากำให้แน่นในมือ ขณะที่ดินแห้งจะเป็นก้อนและไม่แตกออกจากกันเมื่อใช้นิ้วกดเบา ๆ ถ้ากำในขณะที่เปียกชื้นจะเป็นก้อนแข็ง
 4. ดินร่วนปนตะกอนทราย (Silt Loam)เป็นดินที่ประกอบด้วยตะกอนทรายมากกว่า 50 % ที่เหลือส่วนใหญ่เป็นทรายละเอียด ดินชนิดนี้เมื่อแห้งจะจับกันเป็นก้อน้อน แต่ทำให้แตกออกจากกันได้ง่าย ถ้าบี้ให้ละเอียดด้วยนิ้วจะรู้สึกรื่นเหมือนแป้ง เมื่อเปียกจะมีลักษณะเป็นโคลนและไหลไปรวมกันได้ง่าย
 5.ดินเหนียว (Clay) เป็นดินเนื้อละเอียดซึ่งจะจับตัวเป็นก้อนแข็งเมื่อแห้ง เหนียว สามารถปั้นเป็นรูปต่าง ๆ ได้

 วิธีการจัดการดินเพื่อปลูกพืชเศรษฐกิจ
 การปรับปรุงบำรุงดินเพื่อเพิ่มผลผลิตพืช


 1. การจัดการดินอินทรียวัตถุต่ำบนคันดินรอบสระเพื่อปลูกพืช
การใช้ประโยชน์ที่ดินบนคันดินรอบสระที่มีอินทรียวัตถุต่ำนั้น จำเป็นต้องทำการปรับปรุงแก้โครงสร้างดินให้เหมาะสม โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้
 - หว่านเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด เมื่ออายุเหมาะสมประมาณ 55 – 60 วัน หรือเริ่มออกดอก สับกลบลงดิน เพิ่มอินทรีวัตถุให้แก่ดิน
 - เตรียมดินให้ละเอียดสม่ำเสมอ และใส่ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอกเพิ่มอินทรียวัตถุ และปลูกพืชผักอายุสั้นที่ทำรายได้ดี เช่น ผักคะน้า ถั่วฝักยาว บวบ มะระ พริกขี้หนู กระเจี๊ยบเขียว หรือดอกไม้บางชนิดที่สามารถเก็บผลผลิตขายได้ตลอดปี
 - เตรียมดินสำหรับปลูกไม้ยืนต้นบางชนิด เช่น มะม่วง กล้วย บริเวณคันดินขอบสระ โดยปรับสภาพดินบริเวณหลุมให้เหมาะสม ใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกคลุกเคล้ากับดิน ก่อนปลูกต้นไม้แล้วคลุมโคนต้นด้วยฟางข้าว


 2. การจัดการดินด้วยอินทรียวัตถุในนาข้าว
 - ไถกลบตอซังพร้อมกับใส่ปุ๋ยอินทรีน้ำ
  - ใส่ปุ๋ยคอกและแกลบในแปลงเพาะปลูก
 - ใส่ปูนขาว หรือปูนมาร์ล หรือเปลือกหอย หรือขี้เถ้าแกลบ ( ในกรณีที่เป็นดินกรด)
 - ปลูกพืชปุ๋ยสด ( โสนอัฟริกา ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า)
 - ใส่ปุ๋ยอินทรีย์น้ำในช่วงก่อนข้าวตั้งท้อง
 - ฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำจากสมุนไพรในช่วงเจริญเติบโต

 3. การจัดการดินด้วยอินทรียวัตถุในพืชไร่
 - กรณีกำจัดวัชพืชฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำเข้มข้นก่อนไถเตรียมดิน 1 วัน
 - ไถกลบตอซังพร้อมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ
 - ใส่ปูนขาว หรือปูนมาร์ล หรือเปลือกหอย หรือขี้เถ้าแกลบ ( ในกรณีที่เป็นดินกรด)
 - ปลูกพืชปุ๋ยสด เช่น ปอเทือง ถั่วพุ่ม ถั่วพร้า โสนอัฟริกา หรือปลูกหญ้าแฝก
 - นำเศษพืชคลุมดินหรือปลูกพืชตระกูลถั่วคลุมดินระหว่างแถวปลูกพืชหลัก
 - ฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำในช่วงก่อนติดดอก และจากได้ผลผลิตแล้ว
 - ฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำสมุนไพรในช่วงการระบาดของแมลงศัตรูพืช


 4. การจัดการดินด้วยอินทรียวัตถุในพืชผัก
 - ไถหรือสับกลบเศษตอซังพร้อมกับใส่ปุ๋ยอินทรีย์น้ำ
 - ใส่ปูนขาว หรือปูนมาร์ล หรือเปลือกหอย หรือขี้เถ้าแกลบ ( ในกรณีที่เป็นดินกรด)
 - กรณีที่มีวัชพืชขึ้นมากฉีดปุ๋ยอินทรีย์น้ำเข้มข้น ก่อนไถเตรียมดิน 1 วัน
 - ใส่ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกพร้อมกับเชื้อราไตรโคเดอร์มา
 - ใส่พืชคลุมดินระหว่างแถวปลูกผัก หรือปลูกหญ้าแฝก
 - ฉีดปุ๋ยอินทรีย์น้ำในช่วงระหว่างการเจริญเติบโตของผัก
 - ฉีดปุ๋ยอินทรีย์น้ำสมุนไพรในช่วงที่มีการระบาดของแมลงศัตรูพืช


 5. การจัดการดินด้วยอินทรียวัตถุในผลไม้
 - ในกรณีเริ่มปลูกไม้ผลกำจัดวัชพืชโดยใส่ปุ๋ยอินทรีย์น้ำเข้มข้นก่อนไถเตรียมดิน 1 วัน
 - หรือปูนมาร์ล หรือเปลือกหอย หรือขี้เถ้าแกลบ ( ในกรณีที่เป็นดินกรด)
 - ใส่ปุ๋ยหมักและปุ๋ยคอกพร้อมกับเชื้อราไตรโคเดอร์มาในหลุมปลูกไม้ผล และบริเวณรอบทรงพุ่มของไม้ผล  (ช่วงเจริญเติบโต)
 - ปลูกพืชตระกูลถั่วบำรุงดิน พืชผัก และพืชอายุสั้นระหว่างแถวปลูกไม้ผลและปลูกหญ้าแฝกระหว่างแถวไม้ผล  เพื่อป้องกันการชะล้างของผิวหน้าดิน
 - นำวัสดุเศษพืชคลุมดินบริเวณโคนต้นไม้ผล
 - ฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำในช่วงการเจริญเติบโต ก่อนติดดอก หลังติดผลแล้ว
 - ฉีดพ่นปุ๋ยอินทรีย์น้ำสมุนไพรช่วงที่มีการระบาดของแมลงศัตรูพืช


 6. การปลูกหญ้าแฝกร่วมกับพืชเศรษฐกิจเพื่อการปรับปรุงบำรุงดินและการอนุรักษ์ดินและน้ำ
การนำหญ้าแฝกไปปลูกในพื้นที่เกษตรอย่างมีระบบจะช่วยรักษาความชื้นของดิน ฟื้นฟูปรับปรุงบำรุงดิน และป้องกันชะล้างพังทลายของดิน โดยมีการจัดการดังนี้
 - การปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ปลูกพืชไร่และพืชผัก โดยปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวอยู่ระหว่างแถวของพืชไร่  เพื่อช่วยรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน เพิ่มความชื้นในดิน และตัดใบหญ้าแฝกใช้เป็นวัสดุคลุมดิน
 - การปลูกหญ้าแฝกในพื้นที่ปลูกไม้ผล โดยปลูกหญ้าแฝกเป็นแถวอยู่ระหว่างแถวของไม้ผลเพื่อใช้ประโยชน์จากใบหญ้าแฝกตัดคลุมดินระหว่างแถว และปลูกหญ้าแฝกเป็นครึ่งวงกลมของไม้ผลเพื่อลดและ ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน

           การจัดการดินเค็มก่อนการเพาะปลูกพืช
 1. ไถพรวนดินในระดับลึกซึ่งจะทำให้ดินมีการระบายน้ำสูงขึ้น
 2. เพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยการใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก แกลบ ในอัตราส่วน 2-3 ตันต่อไร่  หรือโดยการปลูกพืชปุ๋ยสดทนเค็ม เช่น โสนอัฟริกัน และปอเทือง แล้วไถกลบเมื่อออกดอก
 3. ป้องกันการเคลื่อนที่ของเกลือจากน้ำใต้ดินไม่ให้สะสมในชั้นดิน โดยการรองพื้นด้วยแผ่นพลาสติก  หรือถุงปุ๋ยที่ระดับความลึก 20-30 เซนติเมตรจากผิวดิน
 4. คลุมหน้าดินด้วยฟางข้าว ในอัตรา 1-2 ตันต่อไร่ เพื่อลดการระเหยน้ำของดิน
 5. ใช้น้ำในปริมาณที่มากกว่าปกติเพื่อเพิ่มการชะล้างเกลือ
 6. ปลูกหญ้าทนเค็ม เช่น หญ้าดิกซี่ บนคันสระเพื่อป้องการชะล้างพังทลายของคันสระ
 7. ปลูกไม้ยืนต้นทนเค็มบนคันดินรอบ ๆ สระน้ำ เช่น ละมุด พุทรา สะเดา
 8. เลือกพืชทนเค็มมาปลูก เช่น ผักบุ้ง มะเขือเทศ เป็นต้น

 การจัดการดินเปรี้ยวจัดก่อนการเพาะปลูกพืช
 เนื่องจากดินบริเวณรอบ ๆ สระน้ำที่ขุดในพื้นที่ดินเปรี้ยวจัด เป็นดินที่ขุดจากดินชั้นล่าง ๆ ขึ้นมา ทำให้เกิดกรดเพิ่มขึ้นและดินมีความเป็นกรดสูงมาก การใช้ประโยชน์ที่ดินบนคันดินรอบ ๆ สระน้ำจำเป็นต้องทำการปรับปรุงแก้ไขสภาพความเป็นกรดและสภาพเนื้อดินให้เหมาะสม โดยปฏิบัติตามขั้นตอนต่อไปนี้
 1. หว่านปูนทั่วพื้นที่บริเวณคันดินและพื้นที่รอบ ๆ สระ รดน้ำให้ชุ่มชื้นหรือมีฝนตก ปล่อยทิ้งไว้ประมาณ 20 วัน  ก่อนเตรียมดินปลูกพืช
 2. หว่านเมล็ดพันธุ์พืชปุ๋ยสด เมื่ออายุประมาณ 55-60 วัน หรือเริ่มออกดอก สับกลบลงดินเป็นการเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน
 3. เตรียมดินปลูกพืชผักอายุสั้น โดนการใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอกคลุกเคล้ากับดินในแปลงแล้วคลุมดินด้วยฟางข้าวรักษาความชื้น ใช้น้ำในบ่อรดพืชผัก
 4. เตรียมดินสำหรับปลูกไม้ผลบางชนิด เช่น มะม่วง กล้วย ละมุด ใส่ปูนปรับสภาพดินบริเวณหลุมปลูก ใส่ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก คลุกเคล้ากับดินก่อนปลูก แล้วคลุมโคนต้นด้วยฟางข้าว

 ดินเค็ม
  หมายถึง ดินที่มีปริมารเกลือที่ละลายอยู่ในสารละลายดินมากเกินไปจนมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโตและผลิตผลของพืช เนื่องจากทำให้พืชเกิดอาการขาดน้ำ และมีการสะสมไอออนที่เป็นพิษในพืชมากเกินไป นอกจากนี้ยังทำให้เกิดความไม่สมดุลของธาตุอาหารพืชด้วย วิธีการแก้ไขลดระดับความเค็มดินลงให้สามารถปลูกพืชได้ ทำได้โดยการใช้น้ำชะล้างเกลือจากดินและการปรับปรุงดิน การให้น้ำสำหรับล้างดินมีทั้งแบบต่อเนื่องและแบบขังน้ำเป็นช่วงเวลา แบบต่อเนื่องใช้เวลาในการแก้ไขดินเค็มได้รวดเร็วกว่าแต่ต้องใช้ปริมาณน้ำมาก ส่วนแบบขังใช้เวลาในการแก้ไขดินเค็มช้ากว่า แต่ประหยัดน้ำ
           ระดับความเค็มของดิน
 ดินเค็มน้อย
หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือในดินประมาณ 0.12-0.25 เปอร์เซ็นต์ วัดด้วยเครื่องมือวัดความเค็มได้ 2-4 เดซิซีเมนต่อเมตร พืชที่ไม่ทนเค็มจะเริ่มแสดงอาการ เช่น การเจริญเติบโตลดลง ใบสีเข้มขึ้น ใบหนาขึ้น ปลายใบไหม้ ปลายใบม้วนงอ ผลผลิตลดลง
 ดินเค็มปานกลาง
หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือในดินประมาณ 0.25-0.50 เปอร์เซ็นต์ วัดด้วยเครื่องมือวัดความเค็มได้ 4-8 เดซิซีเมนต่อเมตร ก่อนการปลูกพืชจะต้องมีการปรับปรุงดินเสียก่อนด้วยการใส่ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก หรือปุ๋ยพืชสด
 ดินเค็มจัด
หมายถึง ดินที่มีปริมาณเกลือในดินประมาณ 0.5-1.0 เปอร์เซ็นต์ วัดด้วยเครื่องมือวัดความเค็มได้ 8-16 เดซิซีเมนต่อเมตร มีพืชบางชนิดเท่านั้นที่สามารถเจริญเติบโต และให้ผลผลิตได้


1.ประเทศไทยมีลุ่มน้ำหลักกี่ลุ่มน้ำ  
2.
เขื่อนพระรามหกใช้กั้นแม่น้ำอะไร    
3.
แม่น้ำใดที่ไม่มีเขื่อนทดน้ำหรือระบายน้ำ
4.
เขื่อนใดที่ไม่ใช่เขื่อนทดน้ำหรือระบายน้ำขนาดใหญ่
5.
น้ำ1ลิตรหนักเท่าใด    
6.
น้ำ 1 ลูกบาศก์เมตรมีกี่ลิตร    
7.
ส่วนผสมคอนกรีตมาตราส่วน 1:2:4 ใช้ปูนชีเมต์กี่กิโลกรัม    
8.
จากข้อ 7.ต้องใช้ทรายปริมารเท่าใด  
9.
เหล็ก 1 ตันใช้ลวดผูกเหล็กเท่าใด  
10.
เสาตอม่อหมายถึงส่วนใด  
11.
กรรมวิธีการบ่มคอนกรีตมีกี่วิธี  
12.
การบ่มคอนกรีตเสา คาน พื้น ควรบ่มอย่างน้อยกี่วัน  
13.
กรรมวิธีการผลิตปูนชีเมนต์มีกี่วิธี  
14.
ปูนซีเมนต์ปอร์ทแลนด์ประเภทใดใช้มากที่สุด    
15.
เหล็กเส้นผสม 5มม ยาวกี่เมตร  
16.
ในการก่อสร้างอาคารสูง 10เมตรต้องมีรั่วชั่วคราวสูงเท่าใด    
17.
ท่อน้ำชนิดใดนำมาใช้ทำท่อน้ำหยด น้ำฉีด    
18.
พื้นที่ 4000 ตารางเมตรเป็นกี่ไร่    
19.
ปัจจุบันใช้แผนพัฒนาประเทศฉบับที่เท่าไหร่    
20.
การระบายน้ำในทางชลประทานคือ
21.
ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของอาคารควบคุมบังคับน้ำ
22.
การผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหน้าที่ของใคร
23.
ถ้าจะตรวจสอบว่าจะมีฝนตกไหมจะต้องเข้าเว็บอะไร
24.
ประเทศไทยประสบปัญหาของน้ำเรื่องอะไรมากที่สุด  
25. 3
ข-2 หมายถึงอะไร
26.
เครื่องมือชนิดใดใช้วัดการระเหยของน้ำ
27.
พืชต้องการใช้น้ำมากที่สุดเวลาใด
28.
โทรมาตรคืออะไร  
29.Planineter
คือเครื่องมือใช้ทำอะไร   คำนวณหาขนาดของพื้นที่
30.
ในช่วงเดือนพฤศจิกายนประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุมใด
31.
ภาคกลางปลูกพืชชนิดใดมากที่สุด
32.
ภาคใดของประเทศไทยมีฝนตกชุกเฉลี่ยทั้งปีมากที่สุด
33.
ป่าโซน C คือป่าประเภทใด
34.
สัญลักษณ์  SS ในงานชลประทานหมายถึง
35.
การมีส่วนร่วมของประชาชนมีลำดับขั้นตอนอย่างไรบ้าง
36.
ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของนายช่างชลประทาน
37.
ชลประทานไม่จ่ายน้ำในระบบใด


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกรมชลประทาน ทุกตำแหน่ง

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ 
ประกอบด้วย
- โครงสร้าง อำนาจหน้าที่และภารกิจของกรมชลประทาน
- แนวข้อสอบเกี่ยวกับกรมชลประทาน
- แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยพนักงานราชการ พ.ศ. 2547
- แนวข้อสอบระเบียบกรมชลประทาน ว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2547
ถาม-ตอบแนวข้อสอบเก่า กรมชลประทาน
การสอบสัมภาษณ์
เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
กลุ่มงานบริการ
1. เจ้าพนักงานธุรการ 
2. เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี 
3. เจ้าาพนักงานพัสดุ 
กลุ่มงานเทคนิค
4. นายช่างโยธา 
5. นายช่างชลประทาน 
6. นายช่างเครื่องกล 
7. นายช่างไฟฟ้า 
8. นายช่างไฟฟ้าสื่อสาร 
9. นายช่างสํารวจ 
10. นายช่างเขียนแบบ 
11. เจ้าพนักงานจัดหาที่ดิน 
12. เจ้าพนักงานอุทกวิทยา 
13. เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ 
14. เจ้าพนักงานวิทยาศาสตร์
15. พนักงานขับเครื่องจักรกลขนาดเบา 
กลุ่มงานบริหารทั่วไป
16. นักจัดการงานทั่วไป 
17. นิติกร 
18. นักวิชาการประมง 
19. นักวิชาการเกษตร 
กลุ่มงานวิชาชีพเฉพาะ
20. วิศวกรชลประทาน 
21. วิศวกรโยธา 
22. วิศวกรเครื่องกล 

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่  โทร 085-0127724 
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย  ในราคาเพียงชุดละ   399 บาท 

ส่งเป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ 
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.กสิกรไทย
 
 บิ๊กซีขอนแก่น 
decho pragay  ออมทรัพย์ 
โอนเงินแล้วแจ้งที่  decho.by@hotmail.com


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
-.กรมชลประทานครบรอบ 108 ปี
-.สถาปนาเป็นกรมชลประทานสมัยรัชกาลที่ 6
-.PMQA คือ  รางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
-.ตราของกรมชลประทาน มี พระวรุณ
-.สัตว์ มี พระยานาค
-.อักษรที่เขียนใต้วงกรม  คือ กรมชลประทาน
-.ค่านิยม WATER  for all
-.1460 ชลประทาน บริการประชาชน
-.1460 สายด่วน กรมชลประทาน
-. Royal Irrigation Department
วันข้าราชการพลเรือน
- อายุงาน 25 ปี ได้สิทธิรับบำนาญ
- บุตรบุญธรรม ไม่ได้รับสิทธิรักษาพยาบาล
- ข้าราชการใช้สิทธิให้บุตรได้ไม่เกิน 3 คน
กรณีเกิดเหตุทุพพลภาพหรือเสียชีวิตมีสิทธิได้รับสวัสดิการรึเปล่า?
-เงินทำขวัญ -บำเหน็จ -บำนาญ -บำนาญพิเศษ -ถูกทุกข้อ  
ส่วนราชการหมายถึง ราชการส่วนกลาง ภูมิภาค ท้องถิ่น
หนังสือราชการคือ....
หนังสือที่มีถึงผู้รับจำนวนมาก..หนังสือเวียน
งานสารบรรณหมายถึง.งานที่เกี่ยวกับบริหารเอกสาร
เอกสารทางราชการคือ..
ผู้พิมหนังสือควรรู้ในเรื่องใด..
หนังสือไปถึงบุคคลภายนอกคือ..
ข้อใดต่อไปนี้อาจไม่มีในหนังสือราชการ..สิ่งที่สิ่งมาด้วยและอ้างถึง
หนังสือประทับตราใช้ในเรื่องใด
การลงวันที่ในหนังสือราชการ
การลงวันที่ในหนังสือภายนอก
ตามระเบียบงานสารบรรณหนังสือราชการที่จัดทำขึ้นอย่างน้อย1ฉบับคือ สำเนาคู่ฉบับ
ข้อความที่บันทึกในรายการประชุมมักเริ่มต้นคือ ประธานกล่าวเปิด
ในสำเนาคู่ฉบับมีลายมือชื่อใครบ้าง ผู้ร่าง ผู้พิมพ์ ผู้ตรวจ
ตราที่ใช้ประทับหนังสือประทับตราใช้หมึกสีอะไร  แดว
หนังสือที่ต้องสงวนเป็นความลับต้องปฏิบัติอย่างไร..ให้ปฏิบัติตามฏำหมายหรือระเบียบว่าด้วยการรักษาความปลอดภัยแห่งชาติ
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.ประเทศไทยมีลุ่มน้ำหลักกี่ลุ่มน้ำ  
2.เขื่อนพระรามหกใช้กั้นแม่น้ำอะไร    
3.แม่น้ำใดที่ไม่มีเขื่อนทดน้ำหรือระบายน้ำ
4.เขื่อนใดที่ไม่ใช่เขื่อนทดน้ำหรือระบายน้ำขนาดใหญ่
5.น้ำ1ลิตรหนักเท่าใด    
6.น้ำ 1 ลูกบาศก์เมตรมีกี่ลิตร    
7.ส่วนผสมคอนกรีตมาตราส่วน 1:2:4 ใช้ปูนชีเมต์กี่กิโลกรัม    
8.จากข้อ 7.ต้องใช้ทรายปริมารเท่าใด  
9.เหล็ก 1 ตันใช้ลวดผูกเหล็กเท่าใด  
10.เสาตอม่อหมายถึงส่วนใด  
11.กรรมวิธีการบ่มคอนกรีตมีกี่วิธี  
12.การบ่มคอนกรีตเสา คาน พื้น ควรบ่มอย่างน้อยกี่วัน  
13.กรรมวิธีการผลิตปูนชีเมนต์มีกี่วิธี  
14.ปูนซีเมนต์ปอร์ทแลนด์ประเภทใดใช้มากที่สุด    
15.เหล็กเส้นผสม 5มม  ยาวกี่เมตร  
16.ในการก่อสร้างอาคารสูง 10เมตรต้องมีรั่วชั่วคราวสูงเท่าใด    
17.ท่อน้ำชนิดใดนำมาใช้ทำท่อน้ำหยด น้ำฉีด    
18.พื้นที่ 4000 ตารางเมตรเป็นกี่ไร่    
19.ปัจจุบันใช้แผนพัฒนาประเทศฉบับที่เท่าไหร่    
20.การระบายน้ำในทางชลประทานคือ
21.ข้อใดไม่ใช่ส่วนประกอบของอาคารควบคุมบังคับน้ำ
22.การผลิตกระแสไฟฟ้าเป็นหน้าที่ของใคร
23.ถ้าจะตรวจสอบว่าจะมีฝนตกไหมจะต้องเข้าเว็บอะไร
24.ประเทศไทยประสบปัญหาของน้ำเรื่องอะไรมากที่สุด  
25. 3ข-2ซ  หมายถึงอะไร
26.เครื่องมือชนิดใดใช้วัดการระเหยของน้ำ
27.พืชต้องการใช้น้ำมากที่สุดเวลาใด
28.โทรมาตรคืออะไร  
29.Planineter คือเครื่องมือใช้ทำอะไร    คำนวณหาขนาดของพื้นที่
30.ในช่วงเดือนพฤศจิกายนประเทศไทยได้รับอิทธิพลจากมรสุมใด
31.ภาคกลางปลูกพืชชนิดใดมากที่สุด
32.ภาคใดของประเทศไทยมีฝนตกชุกเฉลี่ยทั้งปีมากที่สุด
33.ป่าโซน C คือป่าประเภทใด
34.สัญลักษณ์  SS ในงานชลประทานหมายถึง
35.การมีส่วนร่วมของประชาชนมีลำดับขั้นตอนอย่างไรบ้าง
36.ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของนายช่างชลประทาน
37.ชลประทานไม่จ่ายน้ำในระบบใด
จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
decho ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1111111111111111
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้