ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบนักบริหารงานสวัสดิการสังคม อบต.ท้องถิ่น
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบนักบริหารงานสวัสดิการสังคม อบต.ท้องถิ่น

แชร์กระทู้นี้

๑. ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการงบประมาณ พ.ศ.๒๕๔๑ แก้ไขมาแล้วกี่ฉบับ
๑.            แก้ไขถึงฉบับที่ ๒ พ.ศ.๒๕๔๒       ๒.           แก้ไขถึงฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๓
๓.           แก้ไขถึงฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๒        ๔.           แก้ไขถึงฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๔
๒.  คำว่า งบประมาณ หมายความว่าอย่างไร
                ๑. "งบประมาณ"  หมายความว่า  แผนงานหรืองานสำหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงในรูปตัวเลขจำนวนเงินการตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
                ๒."งบประมาณ"  หมายความว่า  แผนงานหรืองานสำหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงในรูปข้อมูลตัวหนังสือ ตัวเลข จำนวนเงินการตั้งงบประมาณ  คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงินและคำอธิบายต่างๆ เกี่ยวกับรายรับรายจ่าย
                ๓. "งบประมาณ"  หมายความว่า  การประมาณการรายรับ รายจ่าย เพื่อใช้จ่ายในปีงบประมาณ
                ๔. "งบประมาณ"  หมายความว่า  การตั้งรายรับและรายจ่าย สำหรับแสดงแผนการดำเนินงานในปีงบประมาณ
๓.   เงินนอกงบประมาณ หมายความว่าอย่างไร
                ๑.  "เงินนอกงบประมาณ"  หมายความว่า  เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น           นอกจากเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย
๒.  "เงินนอกงบประมาณ"  หมายความว่า  เงินทั้งปวงที่หน่วยงานอื่น ๆ โอนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๓.  "เงินนอกงบประมาณ"  หมายความว่า  เงินรายได้และเงินรายจ่ายที่ไม่ได้ตั้งงบประมาณไว้ในเทศบัญญัติงบประมาณ
๔.  เงินนอกงบประมาณ"  หมายความว่า  เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น            ที่ไม่ได้ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย
๔.  “ข้าราชการ ” ตามพระราชกฤษฏีกานี้หมายความรวมถึงใครบ้าง?
 
๑. พนักงาน

            ๒. ลูกจ้าง
            ๓. ผู้ปฏิบัติงานในส่วนราชการ
            ๔. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา                                                                                                        
๕.           ใครคือเจ้าหน้าที่งบประมาณ
                ๑.ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด กรณี อบจ. หรือปลัดเทศบาล กรณีเทศบาล  หรือปลัด อบต. กรณี อบต.
                        ๒. เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน
                        ๓. เลขานุการนายกเทศมนตรีหรือบุคคลที่นายกเทศมนตรีมอบหมาย
                        ๔. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๖.                    ในกรณีที่งบประมาณรายจ่ายประจำปีประกาศใช้ไม่ทันปีงบประมาณใหม่ จะดำเนินการอย่างไร
                ๑. ให้ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน ทุกหมวดแต่ไม่เกินกว่างบประมาณปีที่ล่วงมาแล้ว
                ๒. ให้ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน เฉพาะรายจ่ายในหมวด
เงินเดือนและค่าจ้างประจำหมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ  และหมวดค่า
สาธารณูปโภค
๓. ให้ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน เฉพาะรายจ่ายในหมวด
เงินเดือนและค่าจ้างประจำหมวดค่าจ้างชั่วคราว
                ๔. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๗.           งบประมาณรายจ่ายประจำปีของ อปท.  จำแนกได้กี่ประเภท
                        ๑.                    ๒  ประเภท  คือ  งบประมาณรายจ่ายทั่วไป   และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ
                ๒.           ๒ ประเภท คือ งบประมาณรายจ่ายประจำและงบประมาณรายจ่ายเพื่อการลงทุน
                ๓.                 ๓  ประเภท  คือ   งบประมาณรายจ่ายทั่วไป และงบประมาณรายจ่ายเพื่อการลงทุน
                        ๔.                  ๓  ประเภท  คือ    งบประมาณรายจ่ายทั่วไป  งบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ และงบประมาณรายจ่ายเพื่อการลงทุน
๘.                  งบประมาณรายจ่ายทั่วไปของ อปท. ประกอบด้วยรายจ่ายประเภทใดบ้าง 
๑.            รายจ่ายงบกลาง  และรายจ่ายตามแผนงาน
๒.           รายจ่ายงบกลาง และรายจ่ายเพื่อการลงทุน
๓.           รายจ่ายประจำและรายจ่ายเพื่อการลงทุน
๔.           รายจ่ายงบกลาง และรายจ่ายเฉพาะการ
๙.            รายจ่ายประจำ ประกอบด้วยหมวดรายจ่ายใดบ้าง
๑.   หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ  หมวดค่าจ้างชั่วคราว
                ๒.   หมวดค่าตอบแทน  ใช้สอยและวัสดุ
                ๓.   หมวดค่าสาธารณูปโภค  หมวดเงินอุดหนุน  หมวดรายจ่ายอื่น
                ๔.    ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๑๐.          ใครมีหน้าที่เสนองบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อสภาท้องถิ่น
                ๑.  นายกฯ เป็นผู้ยื่นญัตติร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อประธานสภาท้องถิ่นภายใน
วันที่ ๑๕ สิงหาคม ของทุกปี
                ๒.  คณะผู้บริหารเป็นผู้ยื่นญัตติร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อประธานสภาท้องถิ่น
ภายในวันที่ ๑๕ กรกฏาคม ของทุกปี
๓. ปลัดเทศบาล เป็นผู้ยื่นญัตติร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อประธานสภาท้องถิ่น
ภายในวันที่ ๑๕ สิงหาคม ของทุกปี
                ๔. เจ้าหน้าที่งบประมาณ เป็นผู้ยื่นญัตติร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อประธานสภา
ท้องถิ่นภายในวันที่ ๑๕ กรกฏาคม ของทุกปี
๑๑.  ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่จุดมุ่งหมาย ๓ ประการ ตามนโยบายของรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ 
      ชินวัตร 
  .นำประเทศไทยไปสู่โครงสร้างเศรษฐกิจที่สมดุล มีความเข้มแข็งของเศรษฐกิจภายในประเทศมากขึ้น 
  .นำประเทศไทยสู่สังคมที่มีความปรองดองสมานฉันท์ 
  .นำประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนในปี ๒๕๕๘ อย่างสมบูรณ์
                  ๔.พัฒนาเศรษฐกิจ กระจายรายได้ที่เป็นธรรม ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ
๑๒.  ข้อใดต่อไปนี้เป็นนโยบายเร่งด่วนที่เริ่มดำเนินการในปีแรกของรัฐบาลชุดนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์   ชินวัตร 
                ๑.สร้างความปรองดองสมานฉันท์ เยียวยาและฟื้นฟูทุกฝ่าย เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ และผู้ประกอบการภาคเอกชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุรุนแรงตั้งแต่ช่วงปลายการใช้รัฐธรรมนูญ ๒๕๔๐
                ๒.กำหนดให้การแก้ไขและป้องกันปัญหายาเสพติดเป็น วาระแห่งชาติ
                ๓.ป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐอย่างจริงจัง
                ๔.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๑๓.   การควบคุมภายใน คืออะไร
กระบวนการที่คณะผู้บริหารและบุคลากรในองค์กรกำหนดขึ้นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
ขององค์กร
การบริหารงานเพื่อให้เป็นไปตามระเบียบราชการ
การค้นหาการทุจริตในองค์กร
การบริหารความเสี่ยงด้านการเงิน
๑๔การควบคุมภายในมีความจำเป็นต่อหน่วยงานราชการหรือไม่
ไม่จำเป็น เพราะมีกฎระเบียบรองรับอย่างเข้มงวด
ไม่จำเป็น เพราะมี สตง.อยู่แล้ว
จำเป็น เพราะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
จำเป็น เพราะช่วยให้องค์กรมั่นใจว่าผ่านการประเมินจากองค์กรที่กำกับดูแล
๑๕ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้อง
การควบคุมภายในทำให้ลดความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นในองค์กรได้
การควบคุมภายในต้องสัมพันธ์กับความเสี่ยง
การควบคุมภายในมีข้อจำกัด
การควบคุมภายในของทุกองค์กรเหมือนกัน
๑๖ข้อใดไม่ใช่เทคนิคการควบคุมภายใน
การจัดทำและขออนุมัติงบประมาณ
การให้หมายเลขกำกับเอกสารใบเสร็จล่วงหน้า
การจัดเก็บเอกสารบัญชีไว้ในลิ้นชักของพนักงาน
การตรวจสอบเอกสารประกอบการจัดทำบัญชี
๑๗ข้อใดคือประเภทของการควบคุมภายใน
การตกแต่งตัวเลขทางการเงินในงบการเงิน
การปรับปรุงรายการบัญชีโดยไม่ได้รับอนุญาต
การอนุมัติการยืมทรัพย์สินขององค์กร
ถูกทุกข้อ
๑๘การรายงานตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยฯการควบคุมภายใน พ.๒๕๔๔ ข้อ ๖
กำหนดให้รายงานอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง ภายในกี่วัน
๙๐ นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ
ภายในเดือนกันยายนของทุกปี
๑๒๐ วัน นับจากวันสิ้นปีปฏิทิน
ถูกทุกข้อ
๑๙ข้าราชการควรเข้าใจเรื่องการควบคุมภายในหรือไม่
 . ควร เพราะจะได้กระจายอำนาจความรับผิดชอบ
ควร เพราะจะได้ปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่สำคัญ
ไม่ควร เพราะเป็นความลับของราชการ
ไม่ควร เพราะผู้ตรวจสอบภายในดูแลการควบคุมอยู่แล้ว
๒๐ข้อใดกล่าวถูกต้อง
การบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการในการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง การจัดการตอบสนองความ
เสี่ยงรวมทั้งการสร้างโอกาสใหม่ต่อองค์กร
การบริหารความเสี่ยง เป็นองค์ประกอบช่วยในกระบวนการประเมินความเสี่ยง
ถูกทั้งข้อ ๑ และ ๒
ไม่มีข้อถูก
๒๑ข้อใดเป็นองค์ประกอบของการบริหารความเสี่ยงขององค์กรที่เพิ่มจากกรอบแนวความคิดการควบคุม
ภายใน
สภาพแวดล้อมการควบคุม
กิจกรรมการควบคุม
การกำหนดวัตถุประสงค์
การติดตามผล
๒๒ปัจจัยที่สำคัญที่สุดต่อความสำเร็จของการจัดวางระบบการควบคุมภายใน
นโยบายของผู้บริหาร
บุคลากรในหน่วยงาน
งบประมาณ
กฎข้อบังคับของหน่วย
๒๓วิธีการจัดการตอบสนองความเสี่ยง คือ
การยอมรับความเสี่ยง
การหลีกเลี่ยงความเสี่ยง
การควบคุมความเสี่ยง
ถูกทุกข้อ
๒๔ประโยชน์ของการบริหารความเสี่ยง ได้แก่
ลดโอกาสเกิด / ลดผลเสียหาย
เชื่อมโยงกลยุทธ์กับวัตถุประสงค์
การใช้เงินลงทุนอย่างมีประสิทธิภาพ
ถูกทุกข้อ
๒๕. ข้อใดต่อไปนี้คือสัญลักษณ์ของอาเซียน
๑. รวงข้าว๑๐ รวง
๒. รวงข้าว ๑๑ รวง
๓. ต้นข้าว ๑๐ ต้น
๔. ต้นข้าว ๑๕ ต้น
๒๖ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการร่วมกลุ่มเศรษฐกิจในระดับภูมิภาค
๑. เพื่อให้สมาชิกอาเซียนมีการค้าอย่างเสรีมากขึ้น
๒. เพื่อให้สมาชิกเอาเซียนนำสินค้านำสินค้าของตนมาขายมากขึ้น
๓. เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียนติดต่อค้าขายกันได้ง่ายขึ้น
๔. เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียนได้ร่วมมือกันต่อต้านสินค้าของประเทศนอกกลุ่ม
๒๗การประชุมประเทศกลุ่มสมาชิกอาเซียนเรียกว่าอะไร
๑. การประชุมอาเซียนซัมมิท
๒. การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน
 ๓. การจัดการประชุมร่วมร่วมกับประเทศอาเซียน
๔. การประชุมที่เรียกว่าอาเซียนสามบวกสาม
๒๘. ประเทศใดไม่ใช่กลุ่มสมาชิกอาเซียน
๑.     เมียนมาร์
๒.    สิงห์โปร์
๓.    เวียดนาม
๔.   ติมอร์-เลสเต
๒๙ ข้อใดไม่ใช่ ต้นเหตุการณ์กำเนิดอาเชียน
๑. ปัจจัยทางการเมือง – กระบวนการให้ เอกราช/การปลดปล่อย (decolonization process)
๒. การลงนามในปฏิญญากรุงเทพ (Bangkok Declaration) เมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๑๐
๓. สงครามเย็น
๔. การรวมตัวด้านเศรษฐกิจ
๓๐ข้อใดไม่ใช่วัตถุประสงค์ในการรวมกลุ่มของอาเซียน
๑. เพื่อพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ
๒. เพื่อร่วมกันต่อต้านการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ
๓. เพื่อส่งเสริมความมั่นคงปลอดภัยทางการเมือง
๔. เพื่อส่งเสริมความเข้าใจอันดีต่อกันระหว่างประเทศ
๓๑ คำขวัญของอาเซียนคือข้อใด
๑. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
๒. หนึ่งประชาคม หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งเศรษฐกิจ
๓. หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม หนึ่งวิสัยทัศน์
๔. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาชาติ
๓๒. ประเทศกำลังพัฒนาส่วนใหญ่มักขาดดุลการค้าเป็นเพราะสาเหตุใด                 ๑มีการผลิตและส่งออกสินค้าเกษตรมาก
                ๒มีความต้องการนำเข้าสินค้าทุนมาก 
                ๓มีความต้องการสินค้าที่ผลิตภายในประเทศมาก
               ๔. มีความต้องการบริโภคสินค้าและบริการมาก
๓๓. ข้อใดเป็นลักษณะสำคัญที่สุดของการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
       
     การยอมให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจประชาธิปไตย 
           . การยอมให้ประชาชนมีสิทธิ์และเสรีภาพเต็มที่ 
           ๓การยอมให้ประชาชนได้เลือกตั้งผู้แทนราษฎรโดยตรง 
           ๔ .การถือว่าผู้แทนราษฎรเป็นผู้แทนของปวงชน
๓๔. ปัจจัยที่สำคัญที่สุดของการปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาวิกฤตการณ์ หรือบริหารงานภายใต้ภาวะข้อจำกัด                 . โอกาส
                สถานการณ์
                ผู้บริหาร 
                เวลา
๓๕. ข้อใดไม่ใช่คำนิยาม ความพอเพียง (Sufficiency)
                ๑. ความพอประมาณ
                ๒. ความมี เหตุผล
๓. การมี ภูมิคุ้มกันในตัว 
๔.ความรู้และคุณธรรม
๓๖. ข้อใดคือระยะเวลาของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑
 ๑. พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๘
                ๒. พ.ศ.๒๕๕๔ - ๒๕๕๙
                ๓. พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙
                ๔. พ.ศ. ๒๕๕๕ -๒๕๖๐
๓๗.  แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑ ยึดหลักการพัฒนาตามข้อใด
๑. คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
                ๒. ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
                ๓. คนเป็นศูนย์กลางของการรับบริการ
                ๔. ประชาชนเป็นศูนย์กลางของการรับบริการ
๓๘ข้อใดไม่เกี่ยวข้องกับพันธกิจของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑
๑. การสร้างความเป็นธรรมในการกระจายรายได้
                ๒. การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
                ๓. พัฒนาฐานการผลิตและการบริการ
                ๔. สร้างภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจ
๓๙ข้อใด ไม่อยู่ในวิสัยทัศน์แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑
๑. สังคมอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข 
๒. ความเสมอภาคเป็นธรรม
                ๓. ภูมิคุ้มกันต่อการเปลี่ยนแปลง
                ๔. การพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน
๔๐. ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาคนสู่สังคมการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๑
๑. การศึกษา
๒. ทักษะการทำงาน
                ๓. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
                ๔. การดำเนินชีวิต
๔๑.  ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คณะกรรมการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ
๑. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
๒.  ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
๓. ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๔.  ผู้อำนวยการตรวจเงินแผ่นดิน
๔๒.  จุดมุ่งหมายของการพัฒนาชุมชนที่เป็นไปได้ยากมากที่สุดคือข้อใด
                ๑.  การปรับปรุงด้านกายภาพ
                ๒.  การกลับสู่ชนบท
                ๓.  การส่งเสริมอาชีพ
                ๔.  การรวมกลุ่มของประชาชน
๔๓.  บุคคลใดต่อไปนี้ เป็นผู้มีสิทธิได้รับ บริการสวัสดิการสังคม
                ๑.  บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งตกอยู่ในสภาวะยากลำบากหรือจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ
                ๒.  เด็ก เยาวชน คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ ผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศ  
๓. บุคคลหรือกลุ่มบุคคลที่คณะกรรมการการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติกำหนด
๔. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๔๔.  ขั้นตอนแรกของการดำเนินงานการวางแผนโครงการในงานพัฒนาชุมชนคือข้อใด
                ๑.  การแสวงหาข้อเท็จจริง
                ๒.  การวิเคราะห์ทรัพยากร
                ๓.  การแสวงหาผู้นำ
                ๔.  การสืบหาผลงานเพื่อนำมาอ้างอิง
๔๕.   กล่าวกันว่า  การพัฒนาชุมชนเป็นการพัฒนาทางด้านวัตถุและจิตใจนั้น  คำว่า  "จิตใจ" หมายถึงอะไร 
                .  คุณธรรม
                .  มีศีลธรรม
                .  การถือปฏิบัติพรหมจรรย์
                ๔.  พฤติกรรม  ค่านิยมและทัศนคติ
๔๖.  หลักธรรมของพุทธศาสนาข้อใดที่เป็นหัวใจของการพัฒนาชุมชน
                .  อริยสัจ ๔
                .  อิทธิบาท ๔
                .  พรหมวิหาร ๔
              ๔  สังคหวัตถุ ๔
๔๗.  ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่คุณสมบัติของผู้พิการที่มีสิทธิจะได้รับเบี้ยความพิการ ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการให้คนพิการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.๒๕๕๓
                ๑. มีสัญชาติไทย
                ๒. มีบัตรประจำตัวคนพิการตามกฎหมายว่าด้วยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการ
                ๓. เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในความอุปการะของสถานสงเคราะห์ของรัฐ
                ๔. มีภูมิลำเนาอยู่ในเขตองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามทะเบียนบ้าน
๔๘. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สาระสำคัญของ พ.ร.บ. ส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. กำหนดสิทธิประโยชน์และความคุ้มครองคนพิการ เพื่อมิให้มีการเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม และมีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะและความช่วยเหลืออื่นจากรัฐ ตลอดจนให้รัฐสงเคราะห์คนพิการให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้
๒. การจัดตั้งกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
๓. การส่งเสริมอาชีพเพื่อให้คนพิการมีรายได้เพียงพอกับการยังชีพของตนเอง
๔. ให้มีคณะกรรมการส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ  และสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ  ส่วนราชการในกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ โดยมีเลขาธิการเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและบุคลากรของสำนักงาน
๔๙.  การลงทะเบียนและยื่นคำขอรับเงินเบี้ยความพิการจะต้องกระทำเมื่อใด
                ๑. ภายในเดือนพฤศจิกายนของทุกปี
                ๒.ภายในเดือนธันวาคมของทุกปี
                ๓.ภายในปีงบประมาณนั้น ๆ
                ๔.ยื่นได้ก่อนสิ้นปีงบประมาณที่ได้รับบัตรประจำตัวคนพิการตามกฏหมายว่าด้วยการส่งเสริมคุณภาพชีวิตคนพิการแล้ว
๕๐.  ข้อใดต่อไปนี้ คือเหตุผลในการประกาศใช้ พ.ร.บ.ผู้สูงอายุ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๓
 ๑.  เพื่อให้บุคคลซึ่งมีอายุเกิน ๖๐ ปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรีและความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
                ๒.  บุคคลซึ่งมีอายุเกิน ๖๐ ปีบริบูรณ์ ทุกคน   ได้รับเบี้ยยังชีพเป็นรายเดือนอย่างทั่วถึงและเป็นธรรมจากรัฐ
                ๓.  บุคคลซึ่งมีอายุเกิน ๖๐ ปีบริบูรณ์ ทุกคน   มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรีและความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
                ๔. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา


ส่วนที่ ๒ คำชี้แจง จงอธิบายคำถามดังต่อไปนี้  (ข้อสอบจำนวน ๔ ข้อ ให้เลือกทำเพียง ๒ เท่านั้น ข้อ ๆ ละ ๒๕ คะแนน (รวม ๕๐ คะแนน)
ข้อ ๑  จงอธิบายถึงวิสัยทัศน์ในการปฏิบัติงานในตำแหน่ง นักบริหารงานสวัสดิการสังคมพอสังเขป
ข้อ ๒ ในฐานะที่ท่านดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสวัสดิการสังคม ถ้ามีความขัดแย้งเกิดขึ้นในหน่วยงาน ท่านจะมีวิธีการบริหารความขัดแย้งในหน่วยงานนั้นได้อย่างไร ให้อธิบายมาพอสังเขป
ข้อ ๓ จงอธิบายแนวคิดในการการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ในหน่วยงานของท่าน
ข้อ ๔ ในฐานะที่ท่านดำรงตำแหน่งหัวหน้ากองสวัสดิการสังคม ท่านมีแนวความคิดในการพัฒนาองค์กรอย่างไร
****ขอให้โชคดีในการสอบ*****

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 


เฉลยข้อสอบภาคความรู้ความสามารถที่ใช้เฉพาะตำแหน่ง
ตำแหน่ง หัวหน้ากองสวัสดิการสังคม (นักบริหารงานสวัสดิการสังคม ๖)
ข้อสอบจำนวน ๕๐ ข้อ ๆ ละ ๑ คะแนน (๕๐ คะแนน) เวลา  ๒  ชั่วโมง (๑๐.๓๐  ๑๒.๓๐ น)


ข้อ
คำตอบ
๒.แก้ไขถึงฉบับที่ ๓ พ.ศ.๒๕๔๓
๑. "งบประมาณ"  หมายความว่า  แผนงานหรืองานสำหรับประมาณการด้านรายรับและรายจ่ายแสดงในรูปตัวเลขจำนวนเงินการตั้งงบประมาณ คือ การแสดงแผนดำเนินงานออกเป็นตัวเลขจำนวนเงิน
๑.  "เงินนอกงบประมาณ"  หมายความว่า  เงินทั้งปวงที่อยู่ในความรับผิดชอบขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น นอกจากเงินที่ปรากฏตามงบประมาณรายจ่าย
๔. ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๑.ปลัดองค์การบริหารส่วนจังหวัด กรณี อบจ. หรือปลัดเทศบาล กรณีเทศบาล  หรือปลัดอบต. กรณี อบต.
๒. ให้ใช้งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณที่ล่วงแล้วไปพลางก่อน เฉพาะรายจ่ายในหมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำหมวดค่าจ้างชั่วคราว หมวดค่าตอบแทนใช้สอยวัสดุ และหมวดค่าสาธารณูปโภค
๑.    ๒  ประเภท  คือ  งบประมาณรายจ่ายทั่วไป   และงบประมาณรายจ่ายเฉพาะการ
๑. รายจ่ายงบกลาง  และรายจ่ายตามแผนงาน
๔.    ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๑๐
๑.  นายกฯ เป็นผู้ยื่นญัตติร่างเทศบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีต่อประธานสภาท้องท้องถิ่นภายในวันที่ ๑๕ สิงหาคม ของทุกปี
๑๑
๔.พัฒนาเศรษฐกิจ กระจายรายได้ที่เป็นธรรม ปรับโครงสร้างภาษีอากรทั้งระบบ
๑๒
๔.ถูกทุกข้อที่กล่าวมา
๑๓
กระบวนการที่คณะผู้บริหารและบุคลากรในองค์กรกำหนดขึ้นเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร
๑๔
จำเป็น เพราะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
๑๕
การควบคุมภายในของทุกองค์กรเหมือนกัน
๑๖
การจัดเก็บเอกสารบัญชีไว้ในลิ้นชักของพนักงาน
๑๗
การอนุมัติการยืมทรัพย์สินขององค์กร
๑๘
๙๐ นับจากวันสิ้นปีงบประมาณ
๑๙
ควร เพราะจะได้ปฏิบัติให้บรรลุวัตถุประสงค์ของกิจกรรมที่สำคัญ
ข้อ
คำตอบ
๒๐
การบริหารความเสี่ยง เป็นกระบวนการในการระบุเหตุการณ์ความเสี่ยง การจัดการตอบสนองความเสี่ยงรวมทั้งการสร้างโอกาสใหม่ต่อองค์กร
๒๑
การกำหนดวัตถุประสงค์
๒๒
บุคลากรในหน่วยงาน
๒๓
ถูกทุกข้อ
๒๔
ถูกทุกข้อ
๒๕
๓. ต้นข้าว ๑๐ ต้น
๒๖
๓. เพื่อให้ประเทศสมาชิกอาเซียนติดต่อค้าขายกันได้ง่ายขึ้น
๒๗
๒. การประชุมสุดยอดผู้นำอาเซียน
๒๘
๔. ติมอร์-เลสเต
๒๙
๓. สงครามเย็น
๓๐
๒. เพื่อร่วมกันต่อต้านการเข้ามาลงทุนของต่างชาติ
๓๑
๑. หนึ่งวิสัยทัศน์ หนึ่งเอกลักษณ์ หนึ่งประชาคม
๓๒
มีความต้องการนำเข้าสินค้าทุนมาก
๓๓
 การยอมให้ประชาชนเป็นเจ้าของอำนาจประชาธิปไตย
๓๔
ผู้บริหาร
๓๕
๔.ความรู้และคุณธรรม
๓๖
๓. พ.ศ. ๒๕๕๕ - ๒๕๕๙
๓๗
๑. คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา
๓๘
๒. การเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
๓๙
๒. ความเสมอภาคเป็นธรรม
๔๐
๓. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
๔๑
๔.  ผู้อำนวยการตรวจเงินแผ่นดิน
๔๒
๒.  การกลับสู่ชนบท
๔๓
๑.  บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งตกอยู่ในสภาวะยากลำบากหรือจำเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ
๔๔
๑.  การแสวงหาข้อเท็จจริง
๔๕
.  พฤติกรรม  ค่านิยมและทัศนคติ
๔๖
๔  สังคหวัตถุ ๔
๔๗
๓. เป็นบุคคลซึ่งอยู่ในความอุปการะของสถานสงเคราะห์ของรัฐ
๔๘
๓. การส่งเสริมอาชีพเพื่อให้คนพิการมีรายได้เพียงพอกับการยังชีพของตนเอง
ข้อ
คำตอบ
๔๙
๑. ภายในเดือนพฤศจิกายนของทุกปี
๕๐
๑.  เพื่อให้บุคคลซึ่งมีอายุเกิน ๖๐ ปีบริบูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวกอันเป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรีและความช่วยเหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้