ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : เตรียมสอบวิชางานสารบัญ อำนวยการและสนับสนุน 2556
arpar ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ใช้ระดับ I
รายละเอียดผู้ใช้ 

เตรียมสอบวิชางานสารบัญ อำนวยการและสนับสนุน 2556

แชร์กระทู้นี้

ถาม – ตอบ เกี่ยวกับระเบียบงานสารบัญ


1. ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ


พ.ศ.2526


- คณะรัฐมนตรี


2. ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้


-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย


3. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ


พ.ศ.ใด


- พ.ศ. 2526


4. หนังสือราชการ


คือ


- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ



5. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
แบ่งเป็นกี่ประเภท


- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)



6. ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.
2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร

- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี



7. หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
มีกี่ชนิด


- 6 ชนิด



8. หนังสือราชการคือ
เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท


- 6 ประเภท



9. ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร

- เรียน
(คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)



10. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด

- วันที่ 24 กันยายน
2548



11. หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด

- หนังสือภายนอก



12. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง

- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ
พ.ศ.
2506


- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ
พ.ศ.
2507


- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ
ฉบับที่
2 พ.ศ. 2516



13. งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร

- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร
เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย



14. “หนังสือตามระเบียบนี้
หมายความว่าอะไร


- หนังสือราชการ



15. หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด

- การเตือนเรื่องที่ค้าง

- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม

- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ



16. เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง

- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ



17. การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง

- สำเนาคู่ฉบับ
หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย
1 ฉบับ


- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น
ถ่าย อัด คัด เป็นต้น


- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน



18. ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง

- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี

- มีการติดต่อ
โต้ตอบและประสานงานที่ดี


- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร



19. หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด



- 3 ชนิด ได้แก่ คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ



20. หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด



-  3 ชนิด ได้แก่ ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว



21. หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด

- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ



22. การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น
ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ


- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว



23. หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ

- 1 ฉบับ



24. “อิเล็กทรอนิกส์หมายความว่า

- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน


- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง
วิธีการทางแม่เหล็ก
หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น



25. หนังสือประทับตราคือ

- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป
เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา



26. หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ
และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่


- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม

- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ
เอกสาร หรือบรรณสาร


- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน

- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ

- การเตือนเรื่องที่ค้าง

- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด
โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา



27.  ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น
และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน


- 60 วัน
หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น



28. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ
เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง



-  3 ประเภท ได้แก่ - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)



    - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว


  - ด่วน
(ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)



29. หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว
และขนาดตัวอักษร อย่างไร


- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง
ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง
32 พอยท์
ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง



30. กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง

- ระบุคำว่า ด่วนภายใน
แล้วลง วัน เดือน ปี
และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด



31. “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์หมายความว่า

- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์



32. หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด

- หนือสือภายนอก

-หนังสือประทับตรา



33. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร

- กระทำมิได้



34. ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร

- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป
หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย



35. ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร

- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ (
ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้
ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)



36. ส่วนราชการ หมายความว่าอย่างไร

- กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน
หรือหน่วยงานใดของรัฐ ทั้งในบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค
ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความถึงคณะกรรมการด้วย



37. คณะกรรมการ หมายความว่าอย่างไร

- คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใดๆ
และให้หมายรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน



38. คณะกรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน

- 3 คน (ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน)



39. คณะกรรมการทำลายหนังสือ
โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับใด


- ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป



40. ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ

- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.    ผู้บุกรุกเข้าไปในระบบคอมพิวเตอร์ของคนอื่น เรียกว่าอะไร
ก.   Networker    ข.   Hacker
ค.   Cracker    ง.   Superman
ตอบ    ข.   Hacker
2.    เครื่องที่ทำหน้าที่ให้บริการด้านการสื่อสาร เรียกว่าอะไร
ก.   Communication Server    ข.   Server Communication
ค.   File Communication    ง.   File Server
ตอบ    ก.   Communication Server
3.    อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่แปลงสัญญาณติดตั้งคั่นกลางระหว่าง  เครื่องคอมพิวเตอร์และสายโทรศัพท์เรียกว่า
ก.   แคช    ข.   ปาล์ม
ค.   โมเดล    ง.   ซีพียู
ตอบ    ค.   โมเดล
4.    Leased Line  คืออะไร
ก.   สายโทรศัพท์ธรรมดา    ข.   สายเคเบิ้ล
ค.   ระบบดาวเทียมสื่อสาร    ง.   สายเช่า
ตอบ    ง.   สายเช่า
5.    TCP/IP  เป็นมาตรฐานในการเชื่อมต่อระบบ  Internet  คำนี้ย่อมาจากอะไร
ก.    ไม่มีคำย่อเป็นเพียงชื่อเท่านั้น
ข.    Transmission Control Protocal / Internet Protocal
ค.    Top Control Process / Internet Protocal
ง.    Tree Communication Protocal / Integrated Protocal
ตอบ    ข.   Transmission Control Protocal / Internet Protocal
6.    PROCESS  หมายถึงอะไร
ก.    หน่วยความจำสำรอง
ข.    ระบบปฏิบัติการ
ค.    คำสั่งในโปรแกรมที่ถูกประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลกลาง
ง.    การกระจายอำนาจ
ตอบ    ค.   คำสั่งในโปรแกรมที่ถูกประมวลผลด้วยหน่วยประมวลผลกลาง
7.    เครือข่าย คืออะไร
ก.    ระบบควบคุมการทำงานของระบบเครือข่าย
ข.    การเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสาร
ค.    ระบบส่งข่าวสารภายในเครือข่าย
ง.    เป็นศูนย์กลางของการเก็บแฟ้มข้อมูล
ตอบ    ข.   การเชื่อมต่อกันระหว่างอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สื่อสาร
8.    การซื้อสิทธิในการเป็นสมาชิกเพื่อเชื่อมต่อไปยังระบบอินเตอร์เน็ต  เรียกว่าเป็นการซื้ออะไร
ก.   Internet    ข.   Internet hourse
ค.   CS    ง.   Internet Account
ตอบ    ง.   Internet Account
9.    Web Server  คืออะไร
ก.    ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ในการทำงาน
ข.    เป็นส่วนหนึ่งของอินเตอร์เน็ต
ค.    เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดสร้างข้อมูลข่าวสาร
ง.    การค้นหาข้อมูล
ตอบ    ค.   เครื่องคอมพิวเตอร์ที่จัดสร้างข้อมูลข่าวสาร
10.    Network Address  คืออะไร
ก.   ระบบเครือข่าย    ข.   ชื่อเครือข่าย
ค.   ที่อยู่เครือข่าย    ง.   หมายเลขเครือข่าย
ตอบ    ง.   หมายเลขเครือข่าย
11.    IP Address  คืออะไร
ก.   คือ วิธีกำหนดการทำงาน    ข.   คือ วิธีกำหนดชื่อที่อยู่คอมพิวเตอร์
ค.   คือ ระบบคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่ง    ง.   คือ อุปกรณ์ในการทำงาน
ตอบ    ข.   คือ วิธีกำหนดชื่อที่อยู่คอมพิวเตอร์
12.    Groupware  คืออะไร
ก.    กลุ่มของข้อมูลที่ถูกประมวลผลแล้ว
ข.    ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับงานที่มีความหลากหลาย
ค.    กลุ่มของโปรแกรมที่ต้องใช้เป็นประจำ
ง.    โปรแกรมสำเร็จรูปที่อำนวยความสะดวกในสำนักงาน
ตอบ    ข.   ซอฟต์แวร์ที่ใช้จัดการกับงานที่มีความหลากหลาย
13.    ข้อใดที่ไม่ใช่เหตุผลที่ต้องมีการประเมินคุณค่าของสารสนเทศบนอินเตอร์เน็ต
ก.    เป็นสารนิเทศที่ขาดการวิเคราะห์และประเมินจากแหล่งที่เชื่อถือได้
ข.    เป็นสารนิเทศที่มักไม่ปรากฏชื่อเจ้าของผลงานที่ทำงานและอาชีพสารนิเทศ
ค.    เป็นสารนิเทศที่มีรูปแบบหลากหลาย
ง.    เป็นสารนิเทศที่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
ตอบ    ง.   เป็นสารนิเทศที่มีการอ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูล
14.    Shareware  คืออะไร
ก.    เป็นโปรแกรมให้คัดลอกมาทดลองใช้ฟรีก่อน
ข.    เป็นอุปกรณ์เสริมในการเล่นอินเตอร์เน็ต
ค.    เป็นตัวต่อพ่วงระหว่างเครื่องที่บ้านกับสายโทรศัพท์
ง.    เป็นอุปกรณ์ช่วยในการพิมพ์งาน
ตอบ    ก.   เป็นโปรแกรมให้คัดลอกมาทดลองใช้ฟรีก่อน
15.    โมเด็ม (Modem)  มีกี่ประเภท
ก.   1  ประเภท    ข.   2  ประเภท
ค.   3  ประเภท    ง.   4  ประเภท
ตอบ    ข.   2  ประเภท
16.    Demoware  คืออะไร
ก.    เป็นโปรแกรมที่ซื้อขายกันผ่านอินเตอร์เน็ต
ข.    เป็นโปรแกรมที่ให้คัดเลือกได้ฟรี
ค.    เป็นโปรแกรมที่คัดลอกมาให้ทดลองใช้ฟรี
ง.    เป็นอุปกรณ์เสริมในการติดตั้งอินเตอร์เน็ต
ตอบ    ข.   เป็นโปรแกรมที่ให้คัดเลือกได้ฟรี
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.    ใครเป็นผู้วางระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
- คณะรัฐมนตรี
2.    ข้อความใดเป็นความหมายของงานสารบรรณตามระเบียบนี้
-การเก็บรักษา , การรับ-การส่ง, การจัดทำ,การยืม,การทำลาย
3.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณที่ถือปฏิบัติในขณะนี้เป็นฉบับ พ.ศ.ใด
- พ.ศ. 2526
4.    หนังสือราชการ คือ
- เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการ
5.    หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ แบ่งเป็นกี่ประเภท
- 3 ประเภท (ด่วน,ด่วนมาก,ด่วนที่สุด)
6.    ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่กำหนดไว้ในระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ให้ขอทำความตกลงกับใคร
- ปลัดสำนักนกยกรัฐมนตรี
7.    หนังสือราชการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ มีกี่ชนิด
- 6 ชนิด
8.    หนังสือราชการคือ เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการมีกี่ประเภท
- 6 ประเภท
9.    ถ้าผู้รับหนังสือเป็นรัฐมนตรีคำขึ้นต้นใช้คำว่าอะไร
- เรียน (คำลงท้าย..ขอแสดงความนับถือ)
10.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2548 ให้ใช้บังคับตั้งแต่เมื่อใด
- วันที่ 24 กันยายน 2548
11.    หนังสือที่ติดต่อราชการเป็นแบบพิธีได้แก่หนังสือชนิดใด
- หนังสือภายนอก
12.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแล้ว ให้ยกเลิกฉบับใดบ้าง
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2506
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ พ.ศ. 2507
- ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการลงชื่อในหนังสือราชการ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2516
13.    งานสารบรรณมีความหมายตรงกับอะไร
- งานที่เกี่ยวกับการบริหารงานเอกสาร เริ่มตั้งแต่การจัดทำ การรับ การส่ง การเก็บรักษา การยืม จนถึงการทำลาย
14.    “หนังสือ” ตามระเบียบนี้ หมายความว่าอะไร
- หนังสือราชการ
15.    หนังสือประทับตราใช้สำหรับเรื่องใด
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การแจ้งผลงานให้ผุ้เกี่ยวข้องทราบ
16.    เจ้าของเรื่องจะเก็บหนังสือประเภทใดได้บ้าง
- เจ้าของเรื่องสามารถเก็บหนังสือทั้งที่เป็นต้นฉบับและสำเนาซึ่งเป็นหนังสือที่อยู่ในระหว่างปฏิบัติและหนังสือที่ปฏิบัติการเสร็จแล้วแต่ต้องเก็บไว้เพื่อใช้ในการตรวจสอบ
17.    การทำสำเนาในระเบียบงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- สำเนาคู่ฉบับ หนังสือราชการเป็นหลักฐานที่สำคัญในราชการระเบียบงานสารบรรณจึงบังคับให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อย 1 ฉบับ
- การทำสำเนา กระทำได้หลายวิธี เช่น ถ่าย อัด คัด เป็นต้น
- เอกสารทางราชการจำเป็นต้องมีสำเนาซึ่งเป็นเรื่องที่ต้องส่งให้ผู้เกี่ยวข้องทราบหลายคน
18.    ผู้ที่จะทำงานสารบรรณได้ดีจำเป็นต้องรู้งานด้านธุรการในลักษณะใดบ้าง
- มีความรู้ด้านภาษาเป็นอย่างดี
- มีการติดต่อ โต้ตอบและประสานงานที่ดี
- รู้จักกาลเทศะ ความควรไม่ควร
19.    หนังสือสั่งการ มีกี่ชนิด
- 3 ชนิด    ได้แก่  คำสั่ง, ระเบียบ, ข้อบังคับ
20.    หนังสือประชาสัมพันธ์มีกี่ชนิด
-  3 ชนิด   ได้แก่  ประกาศ, แถลงการณ์, ข่าว
21.    หนังสือรับรองรายงานการประชุมและหนังสืออื่นจัดอยู่ในหนังสือชนิดใด
- หนังสือที่เจ้าหน้าที่จัดทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการ
22.    การอ้างหนังสือที่มีทั้งชั้นความเร็วและชั้นความลับนั้น ข้อปฏิบัติที่ถูกต้องคือ
- อ้างชั้นความลับก่อนชั้นความเร็ว
23.    หนังสือราชการที่จัดทำขึ้นให้มีสำเนาคู่ฉบับไว้อย่างน้อยกี่ฉบับ
- 1 ฉบับ
24.    “อิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางอิเล็กตรอนไฟฟ้า คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือวิธีอื่นใดในลักษณะคล้ายกัน
- การประยุกต์ใช้วิธีการทางแสง วิธีการทางแม่เหล็ก หรืออุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการประยุกต์ใช้วิธีต่างๆเช่นว่านั้น
25.    หนังสือประทับตราคือ
- หนังสือที่ใช้ประทับตราแทนการลงชื่อของหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป โดยให้หัวหน้าส่วนราชการระดับกองหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไป เป็นผู้รับผิดชอบลงชื่อย่อกำกับตรา
26.    หนังสือประทับตราให้ใช้ได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอก เฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ ได้แก่
- การขอรายละเอียดเพิ่มเติม
- การส่งสำเนาหนังสือ สิ่งของ เอกสาร หรือบรรณสาร
- การตอบรับทราบที่ไม่เกี่ยวกับราชการสำคัญหรือการเงิน
- การแจ้งผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้วให้ส่วนราชการที่เกี่ยวข้องทราบ
- การเตือนเรื่องที่ค้าง
- เรื่องซึ่งหัวหน้าส่วนราชการระดับกรมขึ้นไปกำหนด โดยทำเป็นคำสั่ง ให้ใช้หนังสือประทับตรา
27.     ให้เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการเก็บหนังสือสำรวจหนังสือที่มีอายุครบการเก็บในปีนั้น และทำบัญชีหนังสือขอทำลายเสนอหัวหน้าส่วนราชการ ภายในกี่วัน
- 60 วัน หลังจากวันสิ้นปีปฏิทินนั้น
28.    หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ เป็นหนังสือที่ต้องจัดส่งและดำเนินการทางสารบรรณด้วยความรวดเร็วเป็นพิเศษ แบ่งเป็นกี่ประเภท  อะไรบ้าง
-  3 ประเภท ได้แก่  - ด่วนที่สุด (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น)
                                             - ด่วนมาก (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติโดยเร็ว
                                             - ด่วน (ให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติเร็วกว่าปกติ เท่าที่จะทำได้)
29.    หนังสือที่ต้องปฏิบัติให้เร็วกว่าปกติ ต้องระบุชั้นความเร็ว และขนาดตัวอักษร อย่างไร
- ให้ระบุชั้นความเร็วด้วยตัวอักษรสีแดง ขนาดไม่เล็กกว่าตัวพิมพ์โป้ง 32 พอยท์ ให้เห็นได้ชัดบนหนังสือและบนซอง
30.    กรณีต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด ควรระบุอะไรบ้าง
- ระบุคำว่า “ด่วนภายใน” แล้วลง วัน เดือน ปี และกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือนั้นไปถึงผู้รับ กับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับซึ่งระบุบนหน้าซองภายในเวลาที่กำหนด
31.    “ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์” หมายความว่า
- การรับส่งข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือผ่านระบบสื่อสารด้วยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส์
32.    หนังสือที่ใช้ติดต่อราชการระหว่างส่วนราชการหรือส่วนราชการกับบุคคลภายนอกคือหนังสือใด
- หนือสือภายนอก
-หนังสือประทับตรา
33.    ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกยืมหนังสือคือใคร
- กระทำมิได้
34.    ผู้มีอำนาจให้บุคคลภายนอกดูหรือคัดลอกหนังสือ คือใคร
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกองขึ้นไป หรือผู้ทีได้รับมอบหมาย
35.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ใช้บังคับแก่ใคร
- ใช้บังคับแก่ส่วนราชการ ( ส่วนราชการใดมีความจำเป็นที่จะต้องปฏิบัติงานสารบรรณนอกเหนือไปจากที่ได้กำหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้ขอทำความตกลงกับผู้รักษาการตามระเบียบนี้)
36.    ส่วนราชการ หมายความว่าอย่างไร
- กระทรวง ทบวง กรม สำนักงาน หรือหน่วยงานใดของรัฐ ทั้งในบริหารส่วนกลาง ราชการบริหารส่วนภูมิภาค ราชการบริหารส่วนท้องถิ่น หรือในต่างประเทศ และให้หมายความถึงคณะกรรมการด้วย
37.    คณะกรรมการ หมายความว่าอย่างไร
- คณะบุคคลที่ได้รับมอบหมายจากทางราชการให้ปฏิบัติงานในเรื่องใดๆ และให้หมายรวมถึงคณะอนุกรรมการ คณะทำงาน หรือคณะบุคคลอื่นที่ปฏิบัติงานในลักษณะเดียวกัน
38.    คณะกรรมการดำเนินการทำลายหนังสือประกอบด้วยบุคคลอย่างน้อยกี่คน
- 3 คน (ประธานกรรมการ 1 คน และกรรมการอีกอย่างน้อย 2 คน)
39.    คณะกรรมการทำลายหนังสือ โดยปกติให้แต่งตั้งจากข้าราชการตั้งแต่ระดับใด
- ระดับ 3 หรือเทียบเท่าขึ้นไป
40.    ใครเป็นผู้แต่งตั้งคณะกรรมการทำลายหนังสือ
- หัวหน้าส่วนราชการระดับกรม
41.    ระเบียบฯว่าด้วยงานสารบรรณกำหนดวิธีการเก็บสำเนาคู่ฉบับอย่างไร
- ให้เก็บไว้ที่หน่วยงานสารบรรณกลางเพื่อให้ค้นหาได้ง่าย
42.    การตีความ การวินิจฉัยปัญหา และการแก้ไขเพิ่มเติมภาคผนวกและจัดทำคำอธิบาย ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี จะขอความเห็นจากใครเพื่อพิจารณา
- ขอความเห็นจากคณะกรรมการพิจารณาปรับปรุงและพัฒนาระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี
43.    เลขประจำของส่วนราชการ ประกอบด้วยตัวเลขกี่ตัว
- 4 ตัว
44.    บันทึก ได้แก่อะไรบ้าง
-บันทึกย่อเรื่อง
-บันทึกรายงาน
-บันทึกความเห็น
-บันทึกติดต่อ
-บันทึกสั่งการ
45.    ในกรณีที่ต้องการให้หนังสือส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด การปฏิบัติบนหน้าซองของหนังสือให้ต้องระบุอย่างไร
-ระบุคำว่า”ด่วนภายใน” แล้วลงวันเดือนปีและกำหนดเวลาที่ต้องการให้หนังสือไปถึงผู้รับกับให้เจ้าหน้าที่ส่งถึงผู้รับภายในเวลาที่กำหนด
46.    เอกสารที่เป็นหลักฐานในราชการที่เพิ่มขึ้นจากระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526 ได้แก่อะไร
-ข้อมูลข่าวสารหรือหนังสือที่ได้รับจากระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์
47.    หนังสือราชการประเภทใดที่ต้องเก็บรักษาไว้เป็นหลักฐานของทางราชการตลอดไป คือหนังสือชนิดใด
- หนังสือที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ทุกสาขาวิชา และมีคุณค่าต่อการศึกษา ค้นคว้า วิจัย
-หนังสือที่เกี่ยวกับสถิติหลักฐาน
-หนังสือที่ต้องใช้ตรวจสอบ
48.    ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณฉบับปัจจุบันได้ใช้บังคับมาตั้งแต่เมื่อใด
- วันที่ 1 มิถุนายน พ.ศ.2526
49.    ใครเป็นผู้รักษาการตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ.2526
- ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
50.    หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชการมี 4 ชนิด ได้แก่
- หนังสือรับรอง
-รายงานการประชุม
-บันทึก
-หนังสืออื่น
51.    หนังสือราชการมีกี่ชนิด
- 6 ชนิด ได้แก่     1. หนังสือภายนอก               2. หนังสือภายใน              3. หนังสือประทับตรา
  4. หนังสือสั่งการ         5. หนังสือประชาสัมพันธ์      6.  หนังสือที่เจ้าหน้าที่ทำขึ้นหรือรับไว้เป็นหลักฐานในราชกา
52.    ให้มีการปรับปรุงเลขประจำส่วนราชการต่างๆทุกกี่ปี
- ทุก 5 ปี (ปี พ.ศ.ที่ลงท้ายด้วย 5 และ 0)
53.    หนังสือภายนอกมีลักษณะอย่างไร
- เป็นหนังสือติดต่อราชการที่เป็นแบบพิธี ใช้กระดาษตราครุฑ
54.    หนังสือถึงสมเด็จพระสังฆราช ใช้คำขึ้นต้นว่าอย่างไร
- กราบทูล (คำลงท้าย..ควรมิควรแล้วแต่จะโปรด)
55.    หนังสือเรื่องใดที่ต้องเก็บไว้เป็นหลักฐานของชาติตลอดไป
- เรื่องที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์
56.    ส่วนราชการเจ้าของหนังสือในหนังสือภายนอก ให้ลงชื่ออะไรได้บ้าง
-ชื่อส่วนราชการซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือ
-ชื่อสถานที่ราชการซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือ
-ชื่อคณะกรรมการซึ่งเป็นเจ้าของหนังสือ
57.    หนังสือภายนอก เป็นหนังสือติดต่อระหว่างหน่วยงานใด
- ระหว่างส่วนราชการ
- ส่วนราชการมีถึงหน่วยงานอื่นใดซึ่งมิใช่ส่วนราชการหรือมีถึงบุคคลภายนอก
58.    “ประกาศ” เป็นหนังสือชนิดใด
-เป็นหนังสือประชาสัมพันธ์ (ใช้กระดาษตราครุฑ)
59.    การลงรายละเอียดในหนังสือภายนอกได้แก่...(ควรจำ เพราะข้อสอบมักออกเนื้อหาหนังสือภายนอกเยอะ)
-    ที่ ให้ลงรหัสตัวพยัญชนะและเลขประจำของเจ้าของเรื่อง ทับเลขทะเบียนหนังสือส่ง สำหรับหนังสือของคณะกรรมการให้กำหนดรหัสตัวพยัญชนะได้ตามความจำเป็น
-    วันเดือน ปี ให้ลงตัวเลขของวันที่ ชื่อเต็มของเดือน และตัวเลขของปีพุทธศักราชที่ออกหนังสือ เช่น 12 กันยายน /2552
-    เรื่อง ให้ลงเรื่องย่อที่เป็นใจความสั้นที่สุดของหนังสือฉบับนั้น ในกรณีที่เป็นหนังสือต่อเนื่องโดยปกติให้ลงเรื่องของหนังสือฉบับเดิม
-    คำขึ้นต้น ให้ใช้คำขึ้นต้นตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้คำขึ้นต้น สรรพนาม และคำลงท้าย ที่กำหนดในภาคผนวก 2 แล้วลงตำแหน่งของผู้ที่หนังสือนั้นมีถึง หรือชื่อบุคคลในกรณีที่มีถึงตัวบุคคลไม่เกี่ยวกับตำแหน่งหน้าที่
-    อ้างถึง(ถ้ามี) ให้อ้างถึงหนังสือที่เคยมีติดต่อกันเฉพาะหนังสือที่ส่วนราชการผู้รับหนังสือได้รับมาก่อนแล้ว จะจากส่วนราชการใดก็ตาม โดยให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของหนังสือและเลขที่หนังสือ วันที่ เดือน ปีพุทธศักราชของหนังสือนั้น
การอ้างถึง ให้อ้างถึงหนังสือฉบับสุดท้ายที่ติดต่อกันเพียงฉบับเดียว เว้นแต่มีเรื่องอื่นที่เป็นสาระสำคัญต้องนำมาพิจารณา จึงอ้างถึงหนังสือฉบับอื่นๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องนั้นโดยเฉพาะให้ทราบด้วย
-    ข้อความ ให้ลงสะสำคัญของเรื่องให้ชัดเจนและเข้าใจง่าย หากมีความประสงค์หลายประการให้แยกเป็นข้อๆ
-    คำลงท้าย ให้ใช้คำลงท้ายตามฐานะของผู้รับหนังสือตามตารางการใช้คำขึ้นต้น สรรพนาม และคำลงท้าย ที่กำหนดในภาคผนวก 2
-    ลงชื่อ ให้ลงลายมือชื่อเจ้าของหนังสือ และให้พิมพ์ชื่อเต็มของเจ้าของลายมือชื่อไว้ใต้ลายมือชื่อ ตามรายละเอียดที่กำหนดในภาคผนวก 2
-    ตำแหน่ง ให้ลงตำแหน่งของเจ้าของหนังสือ
-    ส่วนราชการเจ้าของเรื่อง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวงหรือทบวง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องทั้งระดับกรมและกอง ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกรมลงมา ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องเพียงระดับกองหรือหน่วยงานที่รับผิดชอบ
-    โทร. ให้ลงหมายเลขโทรศัพท์ของส่วนราชการเจ้าของเรื่อง หรือหน่วยงานที่ออกหนังสือ และหมายเลขภายในตู้สาขา(ถ้ามี) ไว้ด้วย
-    สำเนาส่ง(ถ้ามี) ในกรณีที่ผู้ส่งจัดทำสำเนาส่งไปให้ส่วนราชการหรือบุคคลอื่นทราบและประสงค์จะให้ผู้รับทราบว่าได้มีสำเนาส่งไปให้ผู้ใดแล้ว ให้พิมพ์ชื่อเต็มหรือชื่อย่อของส่วนราชการหรือชื่อบุคคลที่ส่งสำเนาไปให้ เพื่อให้เป็นที่เข้าใจระหว่างผู้ส่งและผู้รับ ถ้าหากมีรายชื่อที่ส่งมากให้พิมพ์ว่าส่งไปตามรายชื่อที่แนบและแนบรายชื่อไปด้วย
60.    หลักการประชุม (องค์ประกอบ) การประชุม ประกอบด้วยอะไรบ้าง
- จะต้องมีวาระการประชุม มีประธาน มีเลขานุการ มีผู้เข้าร่วมประชุมอย่างน้อยครึ่งหนึ่งของจำนวน
61.    หนังสือภายนอก คำขึ้นต้นและคำลงท้ายให้ใช้อย่างไร
- ตามฐานะของผู้รับหนังสือ
62.    หนังสือถึงนายกรัฐมนตรี ควรใช้คำขึ้นต้นและคำลงท้ายว่าอย่างไร
- คำขึ้นต้น กราบเรียน คำลงท้าย ขอแสดงความนับถืออย่างยิ่ง
63.    หนังสือที่จัดทำขึ้น โดยปกติให้มีสำเนาคู่ฉบับเก็บไว้ที่ต้นเรื่องกี่ฉบับ
- 1 ฉบับ
64.    หนังสือชนิดใดที่ใช้ติดต่อราชการได้ทั้งระหว่างส่วนราชการกับส่วนราชการ และระหว่างส่วนราชการกับบุคคลภายนอกเฉพาะกรณีที่ไม่ใช่เรื่องสำคัญ
- หนังสือประทับตรา
65.    หนังสือประเภทใดให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติในทันทีที่ได้รับหนังสือนั้น
- หนังสือด่วนที่สุด
66.    การจดบันทึกหรือรายงานการประชุมทำได้กี่วิธี
- 3 วิธี ได้แก่ (จดละเอียดทุกคำพูดของกรรมการ หรือผู้เข้าร่วมประชุมทุกคน พร้อมด้วยมติ)(จดย่อคำพูดที่เป็นประเด็นสำคัญของกรรมการหรือผู้เข้าร่วมประชุม อันเป็นเหตุผลนำไปสู่มติของที่ประชุมพร้อมด้วยมติ) (จดแต่เหตุผลกับมติของที่ประชุม)
67.    การลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องในหนังสือภายนอก ถ้าส่วนราชการที่ออกหนังสืออยู่ในระดับกระทรวง ให้ลงชื่อส่วนราชการเจ้าของเรื่องระดับใด
- กรมและกอง
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1. การบันทึกไฟล์ เป็นชื่อใหม่ต้องใช้คำสั่งใด
ก. Save as
ข. Save ad
ค. Save to
ง. Save at
คำตอบ ก. Save as แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
2. การคลุมแถบดำทั้งหน้ากระดาษควรทำอย่างไร
ก. กดปุ่ม Ctrl + L
ข. กดปุ่ม Ctrl + A
ค. กดปุ่ม Ctrl + C
ง. กดปุ่ม Ctrl + V
คำตอบ ข. กดปุ่ม Ctrl + A แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
3. การส่งเมลข้อความเดียวกันแต่ส่งไปให้หลายๆคน ต้องส่งแบบใด
ก. ใส่ชื่ออีเมลล์แอดเดรสที่ต้องการส่งในช่อง To:
ข. ใส่ชื่ออีเมลล์แอดเดรสที่ต้องการส่งในช่อง Cc:
ค. ใส่ชื่ออีเมลล์แอดเดรสที่ต้องการส่งในช่อง Bcc:
ง. ถูกทุกข้อ
คำตอบ ง. ถูกทุกข้อ แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
4. การพิมแบบโครงร่าง เหมาะต่อการแต่งรูปแบบเอกสารอย่างรวดเร็ว เรียกว่าอะไร
ก. sort view
ข. Outline view
ค. Temple
ง. Outsource
คำตอบ ข. Outline view แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
5. รูปแบบ Email Adress ที่ถูกต้องเป็นอย่างไร
ก. Kiko dy@hotmail.com
ข. deck dee@@hot-mail.com
ค. adser@hotmail.com
ง. Kiko dy@ hot mail.com
คำตอบ ค. adser@hotmail.com แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
6. หน่วยงานที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์ส่งเสริมจริยธรรมและพัฒนาคุณธรรมของข้าราชการตำรวจคือข้อใด
ก. กองบัญชาการศึกษา
ข. โรงเรียนนายร้อยตำรวจ
ค. สถาบันพัฒนาข้าราชการตำรวจ
ง. ศูนย์ฝึกอบรมข้าราชการตำรวจ แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
7. การที่ข้าราชการตำรวจประพฤติปฏิบัติตนทั้งการกระทำ และ คำพูด ซึ่งตรงกับหลักธรรมในข้อใด
ก. จริยธรรม
ข. อุดมคติ
ค. จรรยาบรรณ
ง. อุดมการณ์ แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
8. ตำแหน่งข้าราชการประจำสูงสุดของประเทศไทยคือ
ก. อธิบดี
ข. รัฐมนตรี
ค. ผู้ว่าราชการจังหวัด
ง. ปลัดกระทรวง แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
9. หลักจริยธรรมของตำรวจ “ความยุติธรรม” ควรใช้คู่กับหลักธรรมใด
ก. ศรัทธา
ข. เมตตา
ค. ซื่อสัตย์
ง. อดทน แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
10. ประธานรัฐสภาไทยคนปัจจุบัน ปี 2554 คือใคร
ก. นายประสพสุข บุญเดช
ข. นายชัย ชิดชอบ
ค. นายยงยุทธ ติยะไพรัช
ง. นายสมศักดิ์ เกียรติสุรนนท์ แนวข้อสอบตํารวจชั้นประทวน สายอํานวยการสำหรับบุคภายนอก ปี 2555 ข้อสอบตํารวจชั้นประทวน 2555 ข้อสอบตํารวจสายอํานวยการ 2555
11.หากพบว่าหน่วยงานตำรวจใดละเมิด ฝ่าฝืน ไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ หากเห็นสมควร จเรตำรวจแห่งชาติจะมอบหมายให้ใครไปกำกับและติดตามการสอบข้อเท็จจริง

ก. รองจเรตำรวจแห่งชาติ

ข. จเรตำรวจแห่งชาติ

ค. รองจเรตำรวจ

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ง. ถูกทุกข้อ

12.หน่วยงานใดหน้าที่เสนอความเห็นต่อ ก.ตร. เพื่อแก้ไขปรับปรุงประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ

ก. จเรตำรวจแห่งชาติ

ข. ผู้บัญชาการกองการศึกษา

ค. ผู้บังคับบัญชาหน่วยงานทุกระดับ

ง. ผู้กำกับสถานีตำรวจ

ตอบ ก. จเรตำรวจแห่งชาติ

13.เมื่อผู้บังคับบัญชาได้รับรายงานว่า ข้าราชการตำรวจ ผู้ใดละเมิดหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจให้ดำเนิน การสอบข้อเท็จจริงหรือตั้งคณะกรรมการสอบข้อเท็จจริงภายในกี่วัน

ก. 5 วัน

ข. 10 วัน

ค. 15 วัน

ง. 30 วัน

ตอบ ค. 15 วัน

14.เมื่อข้าราชการตำรวจได้ละเมิด ฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ

ก. บันทึกไว้เป็นหนังสือราชการทันที

ข. รายงานผู้บังคับบัญชาด้วยวาจาทันที

ค. รายงานผู้บังคับบัญชาเป็นหนังสือทันที

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ ค. รายงานผู้บังคับบัญชาเป็นหนังสือทันที

15. ข้าราชการตำรวจต้องปฏิบัติตามค่านิยมหลักของมาตรฐานจริยธรรม สำหรับเจ้าหน้าที่ ข้อกำหนดใดต่อไปนี้ถ

กต้อง

ก. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม

ข. มุ่งบำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชน

ค. ดำรงตนในยุติธรรม

ง. ไม่มักมากในลาภผล

ตอบ ก. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม

16. เมื่อมีการใช้อาวุธ กำลัง หรือความรุนแรงไม่ว่าจะมีผู้บาดเจ็บหรือเสียชีวิตหรือไม่ก็ตามข้าราชการ ตำรวจ จะต้องปฏิบัติเช่นใดจึงจะถูกต้อง

ก. รายงานต่อผู้บังคับบัญชาด้วยวาจาทันที

ข. รายงานต่อผู้บังคับบัญชาเป็นหนังสือทันที

ค. ลงบันทึกเป็นหนังสือราชการ

ง. ลงบันทึกไว้เป็นบันทึกประจำวัน

ตอบ ข. รายงานต่อผู้บังคับบัญชาเป็นหนังสือทันที

17. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ต้องระวางระเบียบเกี่ยวกับการายงานการไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ โดยคำเสนอแนะของใคร

ก. ผู้บังคับการตำรวจแห่งชาติ

ข. ผู้ตรวจการแผ่นดิน

ค. จเรตำรวจแห่งชาติ

ง. สำนักงานนายกรัฐมนตรี

ตอบ ค. จเรตำรวจแห่งชาติ

18. ถ้าตนซึ่งเป็นข้าราชการตำรวจไม่แน่ใจว่าการที่ตนได้กระทำนั้นเป็นการละเมิด ฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจหรือไม่ให้ข้า ราชการตำรวจนั้นไปปรึกษาใครจึงจะถูกต้อง

ก. ผู้บังคับการตำรวจแห่งชาติ

ข. ผู้ตรวจการแผ่นดิน

ค. จเรตำรวจ

ง. ผู้บังคับบัญชา

ตอบ ง. ผู้บังคับบัญชา

19.ใครเป็นประธานกรรมการข้าราชการในการออกกฎ ก.ตร. ว่าด้วยประมวลจริยธรรมและจรรยาบรรณของตำรวจ พ.ศ. 2551

ก. จเรตำรวจ

ข. ผู้บังคับการตำรวจแห่งชาติ

ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

ง. นายกรัฐมนตรี

ตอบ ง. นายกรัฐมนตรี
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้