ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.และ สว. พ.ศ.2550
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้ง สส.และ สว. พ.ศ.2550

แชร์กระทู้นี้

1.       พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา พ.ศ. 2550  บังคับให้เมื่อใด

ก.       6   ตุลาคม  2550                           ค.  6  พฤศจิกายน  2550

ข.       7   ตุลาคม  2550                           ง.   7  พฤศจิกายน   2550

2.        “ผู้ได้รับการเสนอชื่อ  ตาม พรบ. นี้หมายถึงบุคคลใด

ก.       ผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภา แล้วแต่กรณี

ข.       ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร

ค.       ผู้ได้รับการเสนอชื่อเพื่อเข้ารับการสรรหาเป็นสมาชิกวุฒิสภา

ง.       ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือสมาชิกวุฒิสภาแล้วแต่กรณี

3.       บุคคลใดเป็นผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

ก.       ประธานกรรมการการเลือกตั้ง

ข.       เลขาธิการกรรมการเลือกตั้ง

ค.       คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ง.       กรรมการการเลือกตั้ง

4.       ต้องประกาศผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรภายในกี่วันนับแต่วันเลือกตั้ง

ก.       30  วัน                                            ค. 7   วัน

ข.       15  วัน                                            ง. 3    วัน

5.       กรณีมีเหตุอันสงสัยว่ามีกรณีไม่สุจริตและเที่ยงธรรมในเขตเลือกตั้งต้องสอบสวนและวินิจฉัยให้แล้วเสร็จภายในกี่วัน

ก.       30  วัน                                            ค. 7   วัน

ข.       15   วัน                                           ง.  3  วัน

6.       ในการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในแต่ละครั้ง คณะกรรมการเลือกตั้งมีอำนาจจะแต่งตั้งคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง ไม่น้อยกว่ากี่คน

. 8 คน                                                  . 6 คน

. 7 คน                                                  . 5 คน

7.       ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหน้าที่ของคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง

. กำหนดหน่วยเลือกตั้ง ที่เลือกตั้ง

. จัดทำบัญชีรายชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

. การถอนชื่อผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้ง

. ถูกทุกข้อ

                                คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำหน่วยเลือกตั้ง มีอำนาจเลือกตั้ง คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งได้ไม่น้อยกว่ากี่คน

. 6 คน                                                  . 7 คน

. 8 คน                                                  . ตามที่เห็นสมควร

8.       คณะกรรมการการลงคะแนนและนับคะแนนมีจำนวนกี่คน

. 9   คน                                                . 7 คน

. 8   คน                                                . ตามที่เห็นสมควร

9.       คณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งประกอบด้วยประธานหนึ่งคนและกรรมการอีกกี่คน

. ไม่น้อยกว่า 5  คน                            . ไม่น้อยกว่า  7  คน

. ไม่น้อยกว่า 6    คน                          . ไม่น้อยกว่า  8  คน

10.    บุคคลใดแต่งตั่งคณะกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งประกอบด้วยประธานหนึ่งคนและกรรมการอีกแปดคน

ก.       ประธานกรรมการการเลือกตั้ง

ข.       คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ค.       กรรมการการเลือกตั้ง

ง.       ผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้น

11.    ในวันเลือกตั้ง ถ้าถึงเวลาเปิดการลงคะแนนเลือกตั้งแล้วมีกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งมาปฏิบัติหน้าที่ไม่ถึงเก้าคน ต้องกระทำการอย่างไร

ก.      ให้ดำเนินการตามจำนวนกรรมการที่มีอยู่

ข.      คณะกรรมการประจำหน่วยแต่งตั้งผู้มีสิทธิเลือกตั้งในเขตเลือกตั้งนั้นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้งจนครบเก้าคน

ค.      คณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งแต่งตั้งบุคคลอื่นเป็นกรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง

ง.      ข้อ ก ผิด

12.    พรรคการเมืองที่ส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งจะส่งตัวแทนไปประจำอยู่ ณ ที่เลือกตั้งเพื่อสังเกตการณ์การลงคะแนนเลือกตั้งและการนับคะแนนเลือกตั้ง ให้ยื่นหนังสือแต่งตั้งตัวแทนของตนต่อคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้งก่อนวันเลือกตั้งไม่น้อยกว่า

. 10   วัน                                             . 15  วัน

. 20   วัน                                              . 30   วัน

13.    ตัวแทนสังเกตการณ์แต่ละหน่วยเลือกตั้งมีได้กี่คน

ก.       5  คน                                              ค. 3  คน

ข.       4  คน                                              ง.  1  คน

14.    บุคคลใดที่ได้รับความคุ้มครอง ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งหรืออาญา

ก.       เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย การเลือกตั้ง

ข.       ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำจังหวัด

ค.       ผู้ที่ได้รับแต่งตั้งให้ช่วยเหลือการปฏิบัติงานในการเลือกตั้ง

ง.       ถูกทุกข้อ

15.    บุคคลใดเป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา

. ผู้อำนวยการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง

. กรรมการการเลือกตั้งประจำเขตเลือกตั้ง

. กรรมการประจำหน่วยเลือกตั้ง

. ถูกทุกข้อ

16.    จากคำถามข้อข้างต้น ถ้าบุคคลดังกล่าวปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ หรือคำสั่งของคณะกรรมการการเลือกตั้ง หรือคำสั่งของศาลอันเดียวกับการเลือกตั้งและได้กระทำโดยสุจริต จะต้องรับผิดทางแพ่งและทางอาญาหรือไม่

. ไม่ต้องรับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา     . รับผิดทางแพ่งแต่ไม่ต้องรับผิดทางอาญา

. รับผิดทั้งทางแพ่งและทางอาญา . ไม่มีข้อใดถูก

17.    บุคคลใดไม่มีสิทธิเลือกตั้ง

ก.       ผู้มีสัญชาติไทย (ถ้าแปลงสัญชาติต้องได้สัญชาติไทยมาแล้วไม่น้อยกว่า 5 ปี)

ข.       มีอายุไม่ต่ำกว่า 18 ปีบริบูรณ์ในวันที่ 1 มกราคม ของปีที่มีการเลือกตั้ง

ค.       ภิกษุ สามเณร นักพรต หรือนักบวช

ง.       มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านในเขตเลือกตั้งติดต่อกันไม่น้อยกว่า 90 วัน นับถึงวันเลือกตั้ง

รัฐธรรมนูญ และมีหน้าที่ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง

18.   ถ้าผู้มีสิทธิเลือกตั้งไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งได้เนื่องจากมีเหตุอันสมควร ให้แจ้งเหตุที่ไม่อาจไปใช้สิทธิเลือกตั้งต่อบุคคลซึ่งคณะกรรมการการเลือกตั้งแต่งตั้งไว้ในแต่ละเขตเลือกตั้ง ภายในกี่วัน

ก.     30  วัน                                                            ค.  15  วัน

ข.     20   วัน                                                           ง.   7   วัน

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้