ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบไปรษณีย์ ฝ่ายวินัยและสอบสวน
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบไปรษณีย์ ฝ่ายวินัยและสอบสวน

แชร์กระทู้นี้

1. พยานบุคคลที่พนักงานสอบสวนมิได้ทำการสสอบสวน อัยการโจทก์จะ
ก. อ้างพยานบุคคลนั้นเป็นพยานมิได้ เพราะยังมิได้มีการสอบสวนจากพนักงานสอบสวน
ข. อ้างพยานบุคคลนั้นเป็นพยานบุคคลได้ จนกว่าจะได้รับอนุญาตจากศาล
ค. อ้างเป็นพยานบุคคลได้ แม้พนักงานสอบสวนมิได้สอบสวนเพราะไม่มีกฎหมายห้าม
ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ค.)


2. ในคดีอาญา
ก. จำเลยจะต้องให้การว่ารับหรือปฏิเสธ เพื่อพิสูจน์ว่าตนเองบริสุทธิ์เสมอ
ข. จำเลยจะต้องนำพยานหลักฐานเข้าสืบ เพื่อพิสูจน์ว่าตนเองบริสุทธิ์ก่อน
ค. จำเลยให้การหรือไม่ให้การก็ได้ โจทก์มีหน้าที่จะต้องนำสืบเพื่อพิสูจน์ความผิดของจำเลย

     ก่อน

ง. ไม่มีข้อใดถูก
ตอบ (ค.)

3.  คำให้การของพยานที่ให้การต่อพนักงานสอบสวนแล้วต่อมาพยานได้ตายลงไม่สามารถมาให้การในชั้นศาลได้ คำให้การของเขา


ก. เป็นพยานโดยตรง                                                          ข.เป็นพยานบอกเล่า
ค. เป็นพยานชั้นหนึ่ง                                                         ง.ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ (ข.)


4. สิ่งใดต่อไปนี้ที่ศาลรับรู้เอง
ก. ถ้อยคำภาษาไทย                                                             ข.ธรรมเนียม ประเพณี ที่รู้กันอยู่ทั่วไป
ค. สิ่งธรรมดาธรรมชาติ                                                      ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ (ง.)


5. คำของผู้ตายที่ยบอกเล่าแก่ผู้อื่นในนข้อใดที่ศาลรับฟังเป็นพยานหลักฐานได้
ก. สอนป่วยหนักรู้ตัวว่าจะตาย บอกสีว่าได้เห็นจำเลยเป็นคนฆ่านายดำ ต่อมาสอนถึงแก่ความ
     ตาย

ข. นางมาลีถูกรถชน พูดกับนายชุมสามีที่โรงพยาบาลว่าฉันตายแน่ ๆ ฉันผิดเอง คนขับแท็กซี่


     เขาไม่ ผิดหรอกต่อมานางมาลีก็ตาย
ค. นายแก่นถูกคนร้ายยิงด้วยอาวุธปืนไปให้การต่อพนักงานสอบสวนว่านายเข้มเป็นคนร้ายแล้ว
     นายแก่นถึงแก่ความตาย
ง. คดีแดงฆ่าดำ ขาวซึ่งนอนป่วยหนักใกล้จะสิ้นใจ กล่าวว่าข้าพเจ้านายขาวเองเป็นผู้ฆ่านายดำ
     มิใช่แดงแล้วขาวก็สิ้นใจตาย
ตอบ  ข.            ข้อสังเกต
หลักการรับฟังพยาน กรณีนี้มีคือ
1. ต้องเป็นคดีอาญาเกี่ยวกับการทำให้ผู้กล่าวตาย
2 ผู้ตายต้องเป็นบุคคลที่สามารถเป็นพยานได้หากรอดชีวิต 3.
ผู้ตายจะต้องกล่าวในขณะรู้สึกหมดหวัง


6. ข้อใดเป็นสิทธิของพยานที่จะไม่ยอมเบิกวามเนื่องจากคำถามองคู่ความ
ก. เป็นคำถามที่หมิ่นประมาทพยาน ข. เป็นคำถามที่เกี่ยวกับประเด็น
ค. เป็นคำถามที่จะทำให้ผู้พิพากษาตุลาการต้องเบิกความถึงการพิจารณาพิพากษาคดี
ง. ถูกเฉพาะข้อ ก. และ ค.
ตอบ (ก.) ข้อสังเกต ตามมาตรา 118วิแพ่ง


7. พยานข้อใดมีสิทธิไม่ต้องสาบานหรือปฏิญาณตนก่อนเบิกความ
ก. พราหมณ์                   ข. พระไทย                ค. บุคคลอายุ 14 ปี               ง. ถูกเฉพาะข้อ ข,
ตอบ (ข.)

8. ในแง่กระบวนวิธีพิจารณา จำเป็นที่จะต้องมีประเด็นเกิดขึ้นเพื่อวินิจฉัย

เมื่อเกิดประเด็น จึงมีปัญหาว่าจำเลยจะยอมรับหรือปฏิเสธในประเด็นนั้น ในคดีอาญา ถ้าจำเลยปฏิเสธหรือเฉย
จะถือว่า

ก. จำเลยไม่ยอมรับ โจทก์ต้องนำสืบ


ข. จำเลยไม่ยอมรับ แต่ไม่จำเป็นต้องนำสืบอีก

ค. ถือว่าเป็นการยอมรับแล้ว เพราะมีหลักฐานถูกมัดไม่จำเป็นต้องนำสืบอีก

ง. ศาลต้องส่งสำนวนให้พนักงานสอบสวนอีกครั้งหนึ่ง เพื่อให้ได้พยานหลักฐานเพิ่มขึ้นจน



 พอใจ

ตอบ (ก.)



9. คดีที่ศาลจะต้องพิเคราะห์ทุกคดีเพื่อวินิจฉัยพิพากษานั้น
สิ่งที่จะต้องพิเคราะห์คือ


ก. ข้อเท็จจริง                                                                        ข.ข้อกฎหมาย

ค. ข้อเท็จจริงและข้อกฎหมาย                                           ง.ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ (ค.)



10. หลักที่ว่ากฎหมายเป็นสิ่งที่ศาลต้องรับรู้เองนั้น
หมายความเฉพาะกฎหมายไทยเท่านั้น คือ


ก. พระราชบัญญัติ                                                               ข.พระราชกำหนด

ค. พระบรมราชโองการ                                                     ง.ถูกทุกข้อ

ตอบ (ง.)ข้อสังเกต พระบรมราชโองการ ถือเป็นกฎหมายด้วย ในระบบสมบูรณาญาสิทธิราช



11. บุคคลชนิดใด ที่เป็นพยานศาลไม่ได้

ก. บุคคลซึ่งต้องตกเป็นจำเลยในคดีอาญา

ข. บุคคลที่ไม่สามารถเข้าใจคำถามทั้งไม่สมควรจะให้การตามข้อถามได้

ค. เด็กอายุ 3 ขวบ คนชราอายุ 90 ปี



ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก

ตอบ (ข.)  ข้อสังเกตมาตรา 95 วิแพ่ง ที่ไม่เลือกข้อ ก. เพราะ
จำเลยอาจอ้างตนเองพยานได้



12. พนักงานสอบสวนเมื่อรับคำร้องทุกข์หรือคำแจ้งความกล่าวโทษไว้แล้ว
ก็จะดำเนินการสอบสวนตามวิธีการที่บัญญัติไว้ เพื่อ


ก. ให้รู้ว่ามีความผิดอาญาเกิดขึ้นจริงหรือไม่

ข. ให้รู้ว่าใครเป็นผู้กระทำผิด

ค. ดำเนินการให้ได้ตัวผู้กระทำผิดมาสอบสวนแล้วทำสำนวนการสอบสวนไปยังพนักงาน



    อัยการ เพื่อฟ้องผู้กระทำผิดนั้นต่อศาล

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ (ง.)


13. ข้อสันนิษฐานเด็ดขาดนั้น หมายความว่า

ก. กฎหมายระบุไว้โดยชัดแจ้งว่าเมื่อมีข้อเท็จจริงใดเกิดขึ้นกฎหมายถือว่าเป็นอย่างนั้นอย่าง



     เดียวให้จะนำสืบหักล้างไม่ได้

ข. เป็นข้อสันนิษฐาน ซึ่งกฎหมายบัญญัติไว้ แต่อาจหาพยานหลักฐานอื่นนำมาหักล้างก็ได้

ค. เป็นข้อสันนิษฐานโดยเฉพาะของศาล

ง. ไม่มีข้อถูก

ตอบ (ก.)



14.  ข้อสันนิษฐานของกฎหมาย คือ

ก. เป็นการรับฟังการกล่าวอ้างของพยาน

ข. การรับฟังข้อเท็จจริงตามเงื่อนไข
อันเกิดจากข้อเท็จจริงอีกเรื่องหนึ่ง


ค. เป็นการกล่าวอ้างข้อเท็จจริงของพยาน ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ (ง.)



15. ข้อเท็จจริงที่คู่ความรับกันหรือถือว่ารับกัน คือ

ก. เป็นคำกล่าวอ้างของคู่ความทั้ง 2 ฝ่าย

ข. เป็นคำกล่าวอ้างข้อเท็จจริงอย่างใดขึ้นมาและคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งยอมรับ

ค. เป็นคำกล่าวอ้างของความฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง

ง. เป็นคำกล่าวอ้างของพยานที่ให้การต่อศาล

ตอบ (ข.)



16. ข้อใดที่จัดว่าเป็นเอกสารมหาชน

ก. หนังสือสัญญากู้เงินตามกฎหมายใหม่

ข. พินัยกรรมที่ทำขึ้นถูกต้องตามกฎหมาย

จ. ใบสุทธิ

ฉ. ข้อ ก. และ ข. ถูก

ตอบ (ค.)



17. ตามปกติศาลจะไม่รับฟังในกรณีที่ใดที่มิใช่เป็นผู้ชำนาญการพิเศษ หรือผู้เชี่ยวชาญ
ซึ่งมาเบิกความในศาลแต่คำเบิกความของพยานในข้อใดต่อไปนี้ ที่ศาลจะรับฟังได้


ก. เป็นความชำนาญพิเศษเฉพาะตัว

ข. เป็นความเห็นเรื่องลายมือเขียนหนังสือ

ค. เป็นผู้รอบรู้ในด้านกฎหมาย

ง. เป็นผู้รอบรู้ในเรื่องจารีตประเพณี

ตอบ (ง.)



18. คู่ความฝ่ายที่อ้างพยาน จะใช้คำถามนำในการซักถาม
กับถามติงไม่ได้ แต่มีข้อยกเว้นได้ในกรณีใด


ก. เมื่อศาลถามเอง                                                ข.เมื่อพยานได้ทราบข้อที่ต้องนำสืบ

ค. เมื่อคู่ความฝ่ายหนึ่งยอม                                 งเมื่อพยานที่อ้างนั้นไม่เป็นปรปักษ์กับตน

ตอบ (ค.)  ข้อสังเกตมาตรา 118 วิแพ่ง กำหนดข้อยกเว้น 2 ข้อ
คือ ผู้ความอีกฝ่ายหนึ่งยินยอมหรือศาลอนุญาต



19. ต่อไปนี้ข้อใดไม่จัดอยู่ในประเภทเป็นพยานวัตถุ

ก. ร่างกายมนุษย์                                  ข.ใบอนุญาตขับขี่

ค. ที่ดิน                                                                  ง.ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ (ข.)ข้อสังเกต ถือเป็นพยานเอกสาร



20. คำว่า พยานนั้น มีความหมายอยู่สองอย่างคือความหมายตามหลักกภาษาไทยและวามหมายตามหลักกฎหมายความหมายต่อไปนี้ ข้อใดที่เป็นความหมายตามหลักกฎหมายหรือภาษากฎหมาย

ก. หมายถึงพยานบุคคล พยานเอกสาร พยานวัตถุ

ข. หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างที่อ้างเป็นพยาน

ค. หมายถึงสิ่งที่จะนำไปอ้างต่อศาลในคดีต่าง ๆ

ง. หมายถึงสิ่งซึ่งจะต้องนำมาพิสูจน์ข้อเท็จจริงต่อศาล

ตอบ (ง.)



21. คำเบิกความของผู้ชำนาญการ

ก. ศาลรับฟังลงโทษจำเลยได้ทันที

ข. ใช้เป็นพยานหลักฐานประกอบกับพยานอื่น ๆ ลงโทษจำเลยได้

ค. ไม่น่าให้ศาลรับฟังเพราะไม่ได้อยู่ในที่เกิดเหตุ

ง . น่ารับฟังเพราะเป็นผู้มีความรู้หลาย ๆ เรื่อง

ตอบ (ข.)



22. ระหว่างพิจารณาคดีของศาล เกี่ยวกับพยานวัตถุนั้น

ก. ต้องให้คู่ความหรือพยานตรวจดู ข.ผู้ที่กล่าวอ้างไม่ยอมให้คู่ความตรวจดูก็ได้

ค. ศาลจะอนุญาตให้พยานตรวจดูก็ได้ ง.ศาลจะไม่อนุญาตให้พยานตรวจดูก็ได้

ตอบ (ก.)


23. การพิจารณาคดีลับหลังจำเลย

ก. เป็นพยานที่น่าเชื่อถือเพราะพยานไม่กลัวจำเลย กล้าพูดความจริง

ข. ใช้เป็นพยานหลักฐานไม่ได้เพราะขัดกับหลักกฎหมาย

ค. ศาลอนุญาตได้เสมอ



ง. ไม่มีข้อใดถูก

ตอบ (ข.)

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบบริษัท ไปรษณีย์ไทย ฝ่ายวินัยและสอบสวน ใหม่ล่าสุด
รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- ความรู้เกี่ยวกับไปรษณีย์ไทย

แนวข้อสอบความรู้ทางไปรษณีย์

- เทคนิคการสอบสัมภาษณ์

แนวข้อสอบเฉพาะตำแหน่ง 

แนวข้อสอบกฎหมายแพ่งและพาณิชย์

แนวข้อสอบกฎหมายอาญา
- แนวข้อสอบวิชากฎหมายลักษณะพยานแก้ไขฉบับ 2551

-กฎหมายแรงงาน

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com




จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

สามารถอัพโหลดไฟล์แนบ สำหรับโพสได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้