ประยุกต์ใช้ โพสล่าสุด โพสสำคัญ เครื่องมือ สมาชิก สถิติฟอรั่ม ธนาคาร
หัวข้อ : แนวข้อสอบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทุกตำแหน่ง
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 

แนวข้อสอบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทุกตำแหน่ง

แชร์กระทู้นี้

1. พรบ.ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.. 2534 บังคับใช้วันที่

. 5 กันยายน 2534                                         
.18 กันยายน 2534

. 23 กุมภาพันธ์534              
. 2 ตุลาคม 2534
ตอบ  ก.5 กันยายน 2534

2. พรบ.ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 7).. 2550 บังคับใช้วันที่

. 5 กันยายน 2550                                              . 2 ตุลาคม 2550
. 18 พฤศจิกายน2550                                      ง.16 กันยายน 2550ตอบ  ง.16 กันยายน 2550
3. 
การจัดระเบียบบริหารราชการแผ่นดินมีอะไรบ้าง
. ระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง           ข. ระเบียบบริหารราชการส่วนภูมิภาค
. ระเบียบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น       . ถูกทุกข้อ
ตอบ  ง
.ถูกทุกข้อ
4. 
การแบ่งส่วนราชการออกเป็นส่วนต่างๆ ให้มีการกำหนดตำแหน่งโดยคำนึงถึงอะไรบ้าง
              ก
. คุณภาพ                                                             ข.ปริมาณงาน

. คุณภาพและปริมาณงาน                               .ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.ถูกทุกข้อ
5. 
ใครเป็นผู้รักษาการระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ..2534
. นายกรัฐมนตรี                                                 . รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง
. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย           ง. ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี

ตอบ  ก.นายกรัฐมนตรี


6. ข้อใดไม่ใช่การจัดระเบียบบริหารราชการส่วนกลาง

. สำนักนายกรัฐมนตรี                                      ข. ทบวง
. จังหวัด                                                              . กรม
ตอบ  ค
.จังหวัด
7. 
สำนักนายกรัฐมนตรีมีฐานะเป็น
. กระทรวง                                                         
. ทบวง
. กรม                                                                   
. มูลนิธิ

ตอบ  ก.กระทรวง

8. ข้อใดมีฐานะเป็นนิติบุคคล
. สำนักนายกรัฐมนตรี                                      ข. ทบวง
. กรม                                                                    ง.ถูกทุกข้อ

ตอบ  ง.ถูกทุกข้อ

9. การจัดตั้ง การรวมหรือการโอน สำนักนายกรัฐมนตรี ให้ออกเป็นกฎหมายใด
. พระราชบัญญัติ                                           
.พระราชกฤษฎีกา

. กฎกระทรวง                                              
. ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี
ตอบ  ก
.พระราชบัญญัติ
10. 
การจัดตั้ง การรวมหรือการโอน ทบวง ให้ออกเป็นกฎหมายใด
. พระราชบัญญัติ                                               ข.พระราชกฤษฎีกา
.กฎกระทรวง                                                    ง.ประกาศทบวง

ตอบ  ก.พระราชบัญญัติ

11. การรวม หรือการโอน กระทรวง ถ้าไม่มีการกำหนดตำแหน่งหรืออัตราข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้น

ให้ออกเป็นกฎหมายใด

. พระราชบัญญัติ                                              . พระราชกฤษฎีกา
. กฎกระทรวง                                                    ง.ประกาศกระทรวง

ตอบ  . พระราชกฤษฎีกา

12. การรวม หรือการโอน ถ้าไม่มีการกำหนดตำแหน่งหรืออัตราข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้น

ให้สำนักงาน ก.และสำนักงบประมาณตรวจสอบมิให้มีการกำหนดตำแหน่งข้าราชการหรือลูกจ้างเพิ่มขึ้นจนกว่าจะครบกี่ปี

. 3 ปี                                                                 
. 5 ปี
. 7 ปี                                                                  
  . 10 ปี


ตอบ  . 3 ปี         

13. การเปลี่ยนชื่อส่วนราชการ ของ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงทบวง หรือกรม ให้ออกเป็นกฎหมายใด
. พระราชทาน
 ข.พระราชกฤษฎีกา
. กฎกระทรวง                                         
.พระราชกำหนด


ตอบ  . กฎกระทรวง        

14. การยุบส่วนราชการ ของ สำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวง ทบวง หรือกรมให้ออกเป็นกฎหมายใด
. พระราชบัญญั
 ข.พระราชกฤษฎีกา
. กฎกระทรวง                                               
 ง
.พระราชกำหนด


ตอบ   . พระราชกฤษฎีกา

15. การแบ่งส่วนราชการภายใน สำนักนายกรัฐมนตรี กรม ส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นและมีฐานะเป็นกรม

ให้ออกเป็นกฎหมายใด

. พระราชบัญญัต
.พระราชกฤษฎีกา
. กฎหระทรวง
 . พระราชกำหนด

ตอบ  . กฎกระทรวง      

16. ส่วนราชการใดต่อไปนี้ไม่ได้ขึ้นตรงต่อนายกรัฐมนตรี
. สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา          
  ข
. สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน
. สำนักงบปรมณุ
 ง.สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

ตอบ  . สำนักงานตำรวจแห่งชาติ

17. ส่วนราชการในสำนักนายักรัฐมนตรีมีฐานะเป็น
. กระทรวง                                                  
. กรม

. หน่วยงาน                                                 
. ทบวง

ตอบ  . กรม

18. ใครเป็นผู้บังคับบัญชาข้าราชการและรับผิดชอบในการกำหนดนโยบายในสำนักนายกรัฐมนตรี
. นายกรัฐมนตรี
.ปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี
. รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี   
. ถูกทุกข้อ


ตอบ  . นายกรัฐมนตรี

19. เมื่อนายกรัฐมนตรี ตาย, ขาดคุณสมบัติ, จำคุก, สภาลงมติไม่ไว้วางใจ, ศาลวินิจฉัยความเป็นนายกสิ้นสุดลง
. ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่แทน
. ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน
. ให้นายกรัฐมนตรีมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่แทน
.ให้นายกรัฐมนตรี มอบหมายให้ รัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี รักษาราชการแทน

ตอบ  . ให้คณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติหน้าที่แทน

20. ข้อใดไม่ใช่อำนาจหน้าที่ของนายกรัฐมนตรี
ก. 
มอบหมายให้รองนายกรัฐมนตรีกำกับการบริหารราชการของกระทรวงหรือทบวงหนึ่งหรือหลายกระทรวงหรือทบวง
ข. 
บังคับบัญชาข้าราชการฝ่ายบริหารทุกตำแหน่งซึ่งสังกัดกระทรวงทบวง กรม และส่วนราชการที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเป็นกรม
ค. 
แต่งตั้งข้าราชการการเมืองให้ปฏิบัติราชการในสำนักนายกรัฐมนตรี
ง. 
บริหารราชการตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการ

ตอบ  .บริหารราชการตามกฎหมายระเบียบแบบแผนของทางราชการ


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- ความรู้เกี่ยวกับคนพิการ
ข้อสอบ พรบ. ระเบียบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 แก้ไข 2550
แนวข้อสอบ ข่าว และเหตุการณ์ปัจจุบัน การเมืองเศรษฐกิจและ สังคม
- แนวข้อสอบคุณธรรมจริยธรรม
แนวข้อสอบความเหมาะสมกับตำแหน่ง เลือกตามตำแหน่งที่สอบ
นักพัฒนาสังคม
นักสังคมสงเคราะห์
นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
นักทรัพยากรบุคคล
นักวิชาการตรวจสอบภายใน
นักวิชาการพัสดุ
นักวิชาการเงินและบัญชี
นักจัดการงานทั่วไป
นิติกร
ธุรการ

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
admin ออฟไลน์
ระดับ: ผู้ดูแลระบบ
รายละเอียดผู้ใช้ 
1.    คนพิการ จะได้รับสิทธิในการสงเคราะห์ การพัฒนา และการฟื้นฟูสมรรถภาพ ตามพระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ อย่างไร
ตอบ      1. บริการฟื้นฟูสมรรถภาพโดยวิธีทางการแพทย์ และค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาล ค่าอุปกรณ์เพื่อปรับสภาพทางร่างกาย สติปัญญา หรือทางจิตใจ หรือเสริมสร้างสมรรถภาพให้ดีขึ้นตามที่กำหนดในกฎกระทรวง
2. การศึกษาตามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาภาคบังคับ หรือการศึกษาสายอาชีพ หรืออุดมศึกษาตามแผนการศึกษาแห่งชาติ ตามความเหมาะสม ซึ่งให้ได้รับโดยการจัดเป็นสถานศึกษาเฉพาะ หรือจัดรวมในสถานศึกษาธรรมดาก็ได้ โดยให้ศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษาในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการให้การสนับสนุนตามความเหมาะสม
3. คำแนะนำชี้แจงและปรึกษาเกี่ยวกับการประกอบอาชีพ และการฝึกอาชีพที่เหมาะสมกับสภาพของร่างกายและสมรรถภาพที่มีอยู่ เพื่อให้สามารถประกอบอาชีพได้
4. การยอมรับและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และสิ่งอำนวยความสะดวก และบริการต่าง ๆ ที่จำเป็นสำหรับคนพิการ
5. บริการจากรัฐในการเป็นคดีความ และในการติดต่อกับทางราชการ
2.    คำประกาศของสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของคนพิการ มีอะไรบ้าง
ตอบ      1. คำว่า บุคคลพิการ หมายถึง บุคคลที่ไม่สามารถดูแลตัวเองได้ทั้งหมดหรือบางส่วนที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตอยู่อย่างปกติ หรือการใช้ชีวิตในสังคมอันมีผลมาจากความบกพร่องทางกายหรือจิตใจไม่ว่าจะเป็นมาแต่กำเนิดหรือไม่ก็ตาม
2. บุคคลพิการจะรับประโยชน์จากสิทธิทั้งหมดที่กล่าวในคำประกาศนี้สิทธิเหล่านี้จะให้กับบุคคลพิการทุกคน โดยปราศจากข้อยกเว้นใด ๆ ทั้งสิ้น และประกาศจากความแตกต่างหรือการเลือกที่รักมักที่ชังในเรื่องเชื้อชาติ ผิวพรรณ เพศ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมืองสัญชาติหรือสังคมที่กำเนิดหรือสถานะอื่นๆ ของคนพิการผู้นั้น หรือของครอบครัวของเขา
3. บุคคลพิการมีสิทธิที่จะได้รับการยอมรับนับถือในฐานะเป็นมนุษย์ผู้มีเกียรติ บุคคลพิการไม่ว่าจะมีมูลเหตุมาจากอะไร ลักษณะ และความพิการนั้นมากน้อยเพียงใดก็ตาม ย่อมได้รับสิทธิพื้นฐานในฐานะเป็นพลเมืองทัดเทียมกับบุคคลอื่น ๆ ที่มีอายุเท่ากัน ซึ่งมีสิทธิที่จะดำเนินชีวิตอย่างคนปกติและสมบูรณ์มากเท่าที่จะเป็นไปได้
4. บุคคลพิการมีสิทธิในฐานะพลเมือง และมีสิทธิทางการเมืองเช่นเดียวกับบุคคลปกติอื่น ๆยกเว้นแต่ย่อหน้าที่ 7 ของคำประกาศสิทธิของคนปัญญาอ่อน ซึ่งมีข้อจำกัดบางประการหรือข้อระงับสิทธิของคนปัญญาอ่อน
5. บุคคลพิการมีสิทธิสมควรที่จะได้รับการสนับสนุนให้พวกเขาสามารถพึ่งตนเองได้มากเท่าที่จะเป็นไปได้
6. บุคคลพิการมีสิทธิที่จะได้รับการบำบัดรักษาทั้งทางการแพทย์ ทางจิต และกายภาพบำบัด ซึ่งรวมถึงการใช้อวัยวะเทียมด้วย การฟื้นฟูทางการแพทย์ และทางการศึกษา การฝึกอาชีพ การฟื้นฟูสมรรถภาพ การใช้ความช่วยเหลือ ให้คำปรึกษา และให้บริการอื่น ๆ ซึ่งจะทำให้บุคคลพิการสามารถพัฒนาความสามารถและความชำนาญของเขาให้ถึงที่สุด เพื่อที่จะทำให้เขาเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสังคมได้อย่างสมบูรณ์ หรือได้กลับเข้าไปเป็นส่วนหนึ่งของสังคมอีกครั้งหนึ่ง
7. บุคคลพิการมีสิทธิที่จะได้รับหลักประกันทางเศรษฐกิจและสังคม เพื่อสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้พวกเขามีสิทธิตามความสามารถที่จะได้รับสวัสดิการในการทำงาน หรือได้รับประโยชน์จากผลผลิตและรายได้จากอาชีพ และเข้ามีส่วนร่วมในสหพันธ์กรรมการต่าง ๆ
8. บุคคลพิการสมควรได้รับสิทธิพิจารณาความต้องการพิเศษ ในการวางแผนทางเศรษฐกิจและสังคมในระดับต่าง ๆ
9. บุคคลพิการมีสิทธิที่จะอยู่อาศัยกับครอบครัว หรือพ่อแม่อุปถัมภ์และเข้ามีส่วนร่วมในสังคมร่วมในกิจกรรมสร้างสรรค์และนันทนาการต่าง ๆ ในเรื่องที่เกี่ยวกับที่อยู่อาศัย บุคคลพิการไม่ควรได้รับการปฏิบัติแตกต่างไปจากบุคคลอื่น ๆ ยกเว้นแต่ที่จำเป็นสำหรับสถานะของบุคคลนั้น ๆ หรือเพื่อการแก้ไขสภาพที่บุคคลนั้น ๆ จำเป็นต้องได้รับ ถ้าบุคคลจำเป็นต้องอยู่ในสภาพที่พิเศษ สิ่งแวดล้อมและสภาพความเป็นอยู่ในที่นั้น ควรจะมิดชิดเท่าที่จะเป็นไปได้ เช่นเดียวกับการดำรงชีวิตปกติของบุคคลทั่วไปผู้มีอายุเท่ากันกับเขาและเธอผู้นั้น
10. บุคคลพิการจะถูกปกป้องจากการแสวงหาประโยชน์ส่วนตัวจากกฎเกณฑ์ข้อบังคับทั้งมวล อันเนื่อง มาจากการเลือกที่รักมักที่ซัง การถูกกีดกัน การกระทำทารุณ หรือการถูกเหยียดหยาม
11. บุคคลพิการสามารถได้รับประโยชน์จากความช่วยเหลือตามกฎหมายที่บัญญัติไว้เมื่อความช่วยเหลือนั้น ไม่ขัดกับการพิทักษ์สิทธิส่วนบุคคลและทรัพย์สินถ้าทีการพิจารณาคดีตามขบวนการยุติธรรมฟ้องร้องเขา การพิจารณาคดีนั้น ๆ จำเป็นต้องคำนึงสภาพความพิการทางร่างกายและจิตใจประกอบด้วย
12. เรื่องใด ๆ ก็ตามที่เกี่ยวข้องกับสิทธิของคนพิการ ควรจะปรึกษากับองค์กรต่าง ๆ ของบุคคลพิการ
13. บุคคลพิการ ครอบครัว และชุมชน จะได้รับการบอกกล่าวโดยสื่อต่าง ๆ ถึงสิทธิของบุคคลพิการตามประกาศนี้
3.    ข้อกำหนดในปฏิญญาว่าด้วยสิทธิคนพิการไทย ที่เกี่ยวข้องกับคุณภาพชีวิตและเกิดประโยชน์สูงสุดต่อคนพิการ  มีอะไรบ้าง
ตอบ      1. คนพิการมีสิทธิได้รับการฟื้นฟูสมรรถภาพ และการพัฒนา ตั้งแต่แรกเริ่มที่พบผู้ปกครอง และครอบครัว ต้องได้รับการสนับสนุนทุกด้าน เพื่อให้สามารถภาพฟื้นฟูสมรรถภาพความพิการอย่างเต็มศักยภาพ
2. คนพิการที่มีสิทธิได้รับสิ่งอำนวยความสะดวก บริการ ความช่วยเหลืออื่น ๆ จากรัฐเพื่อใช้ชีวิตอยู่ในสังคม เช่นเดียวกับคนปกติ
3. คนพิการมีสิทธิ และโอกาสในการเตรียมความพร้อมด้านอาชีพ การฝึกอาชีพ การประกอบอาชีพทุกประเภท ได้รับการจ้างงานตามความต้องการและความสามารถ โดยได้รับค่าตอบแทนและสวัสดิการโดยไม่มีการกีดกันหรือเลือกปฏิบัติ
4. คนพิการมีสิทธิได้รับโอกาสทางการศึกษา อย่างมีคุณภาพทุกระดับของการศึกษาอย่างเท่าเทียมทั้งในระบบและนอกระบบการศึกษา โดยไม่มีการกีดกัน
4.    คนพิการ (ประกาศกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ) หมายความว่าอย่างไร
ตอบ  บุคคลซึ่งมีความสามารถถูกจำกัดให้ปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวันและการมีส่วนร่วมทางสังคมได้โดยวิธีการทั่วไป เนื่องจากมีความบกพร่องทางการมองเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญาและการเรียนรู้และมีความต้องการจำเป็นพิเศษด้านต่าง ๆ เพื่อให้สามารถดำเนินชีวิตและมีส่วนร่วมในสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป
5.    คนพิการตาม พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ.2534 หมายความว่าอย่างไร
ตอบ  คนที่มีความผิดปกติหรือบกพร่องทางร่างกาย ทางสติปัญญา หรือทาง
จิตใจ
6.    คนพิการตามประเภทและหลักเกณฑ์ที่กำหนดในกฎกระทรวง มีกี่ประเภท  อะไรบ้าง
ตอบ    5  ประเภท   ได้แก่
- คนพิการทางการมองเห็น
- คนพิการทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย
- คนพิการทางการเคลื่อนไหว
- คนพิการทางจิตใจ หรือพฤติกรรม
- คนพิการทางสติปัญญา หรือการเรียนรู้
7.    พิการทางการมองเห็น คือ
ตอบ  คนที่มีสายตาข้างที่ดีกว่าเมื่อใช้แว่นสายตาธรรมดา แล้วมองเห็นน้อยกว่า 6/18 หรือ 20/70 จนมองไม่เห็นแม้แต่แสงสว่าง หรือมีเลนส์สายตาแคบกว่า 30 องศา
8.    พิการทางการได้ยินและสื่อความหมาย มีลักษณะความพิการอย่างไร
ตอบ  1.การได้ยิน
- เด็กอายุน้อยกว่า 7 ปี ลักษณะความพิการ คือ หูตึงปานกลาง หูตึงมาก หูตึงรุนแรงหูหนวก ความดังเฉลี่ยเกิน 40 เดซิเบล จนไม่ได้ยิน ระดับความผิดปกติ 2 ถึง 5
- เด็กอายุเกิน 7 ปี ถึงผู้ใหญ่ ลักษณะความพิการ คือ ความผิดปกติ หูตึงมาก หูตึงรุนแรง หูหนวก ความดัง 55 เดซิเบลขึ้นไป ระดับความผิดปกติ 2 ถึง 5
         2. การสื่อความหมาย ลักษณะความพิการ คือ พูดไม่ได้ พูดไม่ชัดและพูดไม่รู้เรื่อง ระดับความผิดปกติ 3 ถึง 5
สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

[font=arial                              ]ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 

ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com

จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบรับราชการ   085-0127724
รายละเอียดไฟล์แนบ
กล่องตอบกลับด่วน

กรุณาใช้ข้อความที่สุภาพ คุณสามารถบันทึกฉบับร่างได้
กด "Ctrl+Enter" เพื่อตั้งกระทู้ได้