เวอร์ชันเต็ม: [-- แนวข้อสอบเจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร --]

งานราชการ แนวข้อสอบ รับราชการ ก.พ. อบต. ครูผู้ช่วย ตำรวจ ธกส -> แนวข้อสอบ อปท.เทศบาล อบต. อบจ. กทม. และท้องถิ่นต่างๆ -> แนวข้อสอบเจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร [สั่งพิมพ์] เข้าสู่ระบบ -> ลงทะเบียน -> ตอบกลับ -> ตั้งกระทู้

admin 2012-07-07 13:53

แนวข้อสอบเจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร

แนวข้อสอบ
 

 พรบ. ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ
2552

1. พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ
.. 2552 บังคับให้เมื่อใด

ก. วันที่ 18 ธันวาคม พ.. 2552

ข. วันที่ 19 ธันวาคม พ.. 2552

ค. วันที่ 20 ธันวาคม พ.. 2552

ง. วันที่ 21ธันวาคม พ.. 2552

ตอบ  ข. วันที่ 19 ธันวาคม พ.. 2552

มาตรา 2 พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

2. ข้อใดคือความหมายของ
“ผู้มีสิทธิออกเสียง” ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ

ก. การออกเสียงประชามติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

ข. ผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

ค. ผู้ที่กำหนดให้เป็นเขตออกเสียงประชามติ

ง. ไม่มีข้อถูก

ตอบ  ข. ผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

                มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

                “ผู้มีสิทธิออกเสียงหมายความว่า ผู้มีสิทธิออกเสียงประชามติตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ

3. ข้อใดคือความหมายของ
“จังหวัด” ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ

ก. กรุงเทพมหานคร

ข. เขตบริหารราชการส่วนภูมิภาคของประเทศไทย ทั้ง 77 จังหวัด

ค. เมืองพัทยาและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

ง. ระดับการปกครองของรัฐบาลลำดับแรก

ตอบ  ก. กรุงเทพมหานคร

                มาตรา ๓ ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

“จังหวัด”
หมายความว่า
กรุงเทพมหานคร

4. ผู้ใดคือผู้รักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ

ก. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง

ข. รองประธานกรรมการการเลือกตั้ง

ค. รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทย

ง. ผู้ว่าราชการจังหวัด

ตอบ ก. ประธานกรรมการการเลือกตั้ง
 
มาตรา๔ ให้ประธานกรรมการการเลือกตั้งรักษาการตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนี้

5. นายกรัฐมนตรีประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา
โดยจะต้องมีรายละเอียดดังข้อใด

ก. กำหนดเรื่องในการจัดทำประชามติ
ซึ่งจะต้องมีข้อความที่ชัดเจนเพียงพอที่จะให้ผู้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในเรื่องที่จะจัดทำประชามติ

ข. กำหนดว่าการจัดให้มีการออกเสียงดังกล่าวเป็นไปเพื่อให้มีข้อยุติโดยเสียงข้างมากของผู้มีสิทธิออกเสียง
หรือเป็นไปเพื่อให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี

ค. ถ้ากฎหมายที่ไม่ได้บัญญัติผู้มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงไว้
ให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

ง. ถูกทั้ง ก และ ข

ตอบ ง. ถูกทั้ง ก และ ข


มาตรา5 ในกรณีที่จะดำเนินการจัดทำประชามติตามมาตรา 165 (1) ของรัฐธรรมนูญให้นายกรัฐมนตรีประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา
โดยจะต้องมีรายละเอียด ดังนี้

(1) กำหนดเรื่องในการจัดทำประชามติ ซึ่งจะต้องมีข้อความที่ชัดเจนเพียงพอที่จะให้ผู้มีสิทธิออกเสียงลงคะแนนเห็นชอบหรือไม่เห็นชอบในเรื่องที่จะจัดทำประชามติ

(2 กำหนดว่าการจัดให้มีการออกเสียงดังกล่าวเป็นไปเพื่อให้มีข้อยุติโดยเสียงข้างมากของผู้มีสิทธิออกเสียง
หรือเป็นไปเพื่อให้คำปรึกษาแก่คณะรัฐมนตรี

6. ประชามติตามที่มีกฎหมายบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญให้ผู้มีอำนาจตามกฎหมายประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดทำประชามติตามที่กฎหมายนั้นบัญญัติ
ถ้ากฎหมายดังกล่าวมิได้บัญญัติผู้มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงไว้  ต้องดำเนินการอย่างไร

ก. ให้นายกรัฐมนตรี มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

ข. ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

ค. ให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

ง. ให้ปลัดกระทรวงมหาดไทย มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

ตอบ ค. ให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

มาตรา 5 ( วรรคท้าย)

ในกรณีที่จะดำเนินการจัดทำประชามติตามที่มีกฎหมายบัญญัติตามมาตรา
165
(2) ของรัฐธรรมนูญให้ผู้มีอำนาจตามกฎหมายประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา
โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการจัดทำประชามติตามที่กฎหมายนั้นบัญญัติ ถ้ากฎหมายดังกล่าวมิได้บัญญัติผู้มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงไว้
ให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง มีอำนาจออกประกาศให้มีการออกเสียงตามกฎหมายนั้น

7. เมื่อมีประกาศให้มีการออกเสียงตามมาตรา
5 ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดวันออกเสียงในราชกิจจานุเบกษาภายในนับแต่วันที่มีประกาศ

ก. 30  วัน                                                           ค.  10   วัน

ข. 15  วัน                                                           ง.  7     วัน

ตอบ  ง.  7      วัน

                                มาตรา 6 เมื่อมีประกาศให้มีการออกเสียงตามมาตรา
5 ให้คณะกรรมการการเลือกตั้ง

ประกาศกำหนดวันออกเสียงในราชกิจจานุเบกษาภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีประกาศดังกล่าว

8. วันออกเสียงในการจัดทำประชามติต้องกำหนดวันออกเสียงภายในระยะกี่วัน

ก. ระยะเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน
แต่ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา

ข. ระยะเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน
แต่ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียง

ค. ระยะเวลาไม่น้อยกว่าเจ็ดวัน
นับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา

ง. ถูกทุกข้อ

ตอบ  ก. ระยะเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน แต่ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา


มาตรา6 เมื่อมีประกาศให้มีการออกเสียงตามมาตรา 5 ให้คณะกรรมการการเลือกตั้งประกาศกำหนดวันออกเสียงในราชกิจจานุเบกษาภายในเจ็ดวันนับแต่วันที่มีประกาศดังกล่าววันออกเสียงต้องกำหนดเป็นวันเดียวกันทุกเขตออกเสียง
และต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ ดังนี้

(1) วันออกเสียงในการจัดทำประชามติตามมาตรา 165
(1) ของรัฐธรรมนูญต้องกำหนดวันออกเสียงภายในระยะเวลาไม่น้อยกว่าเก้าสิบวัน
แต่ไม่เกินหนึ่งร้อยยี่สิบวันนับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียงในราชกิจจานุเบกษา

9. ผู้มีสิทธิออกเสียงเห็นว่าการให้มีการออกเสียงนั้นไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งกฎหมายที่บัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ
ผู้มีสิทธิออกเสียงสามารถเสนอคำฟ้องภายในกำหนดระยะเวลากี่วันต่อศาลใด

ก. 60 วัน นับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียง , ศาลฎีกา

ข. 60 วัน นับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียง , ศาลปกครอง

ค. 30 วัน นับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียง , ศาลปกครอง

ง. 30  วัน นับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียง , ศาลปกครองสูงสุด

                ตอบ ง. 30  วัน นับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียง , ศาลปกครองสูงสุด

                       
    มาตรา6  (วรรคท้าย)   ภายในกำหนดเวลาสามสิบวันนับแต่วันประกาศให้มีการออกเสียงใดแล้ว

                            
ถ้ามีผู้มีสิทธิออกเสียงเห็นว่าการให้มีการออกเสียงนั้นไม่เป็นไปตามเจตนารมณ์แห่งกฎหมายที่บัญญัติให้มีการออกเสียงประชามติ
หรือตามเจตนารมณ์ของมาตรา 165 ของรัฐธรรมนูญสามารถเสนอคำฟ้องต่อศาลปกครองสูงสุด เพื่อให้มีคำวินิจฉัยโดยเร็ว

10. ข้อใดคือวิธีออกเสียงลงคะแนนออกเสียงประชามติ

ก. แบบตรง                                        ค. แบบปกปิด

ข. แบบลับ                                          ง. ถูกทั้ง  ก  และ ข

ตอบ  ง. ถูกทั้ง  ก  และ ข

        
มาตรา 8การออกเสียง ให้ใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ


จำหน่ายเอกสารแนวข้อสอบเจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร ใหม่ล่าสุด

รวมทุกอย่างที่ออกข้อสอบ

- แนวข้อสอบความสามารถทางด้านเหตุผล (คณิตศาสตร์)

- แนวข้อสอบวิชาภาษาไทย
- การสอบสัมภาษณ์

ความรู้พื้นฐานในการปฎิบัติราชการ

แนวข้อสอบ พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ.2540

- แนวข้อสอบหลักธรรมมาภิบาล หลักเศรษฐกิจพอเพียง หลักสิทธิมนุษยชน

- แนวข้อสอบ พรบ.ระเบียบข้าราชการ กทม.และบุคลากร กทม. พ.ศ. 2554

- แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2528 และแก้ไขเพิ่มเติม

- แนวข้อสอบ พ.ร.ก ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
- แนวข้อสอบระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยงานสารบัญ

- แนวข้อสอบระเบียบกรุงเทพมหานครว่าด้วยวิธีปฏิบัติงานสารบรรณ พ.ศ.2546

- แนวข้อสอบ พรบ.ประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการออกเสียงประชามติ 2552

- พรบ.ลักษณะปกครองท้องที่

- งานทะเบียนราษฏร์และบัตรประชาชน
พระราชบัญญัติ บัตรประจำตัวประชาชน (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2554

แนวข้อสอบงานทะเบียนราษฎร

แนวข้อสอบงานบัตรประจำตัวประชาชน

- การบริหารแผนงาน นโยบาย โครงการ

- แนวข้อสอบพระราชบัญญัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550



สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com


admin 2012-07-07 13:55

1. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ให้ไว้เมื่อใด  

 ก. วันที่ 24 กรกฎาคม 2534 ข. วันที่ 24 สิงหาคม 2534

 ค. วันที่ 26  กันยายน 2534 ง. วันที่ 10 ตุลาคม 2534

 จ. วันที่ 14 พฤศจิกายน 2534

2. พระราชบัญญัติ การทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534ให้ไว้โดยคำแนะนำและยินยอมของใคร 

 ก. สภานิติบัญญัติแห่งชาติ ข. สภาผู้แทนราษฏร

 ค. วุฒิสภา  ง. รัฐสภา 

 จ. นายกรัฐมนตรี 

3. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ให้ใช้บังคับเมื่อพ้นกำหนดกี่วันนับแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจา

 นุเบกษา เป็นต้นไป

 ก. 60 วัน  ข. 90 วัน

 ค. 120 วัน  ง. 180 วัน 

 จ. 45 วัน

4. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 การทะเบียนราษฎร หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. งานทะเบียนต่างๆ ตามพระราชบัญญัตินี้ รวมทั้งการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร

 ข. ข้อมูลตัวบุคคลเกี่ยวกับ ชื่อ ชื่อสกุล เพศ วันเดือนปีเกิดและตาย สัญชาติ ศาสนา ภูมิลำเนา สถานการณ์สมรส

 ค. เลขประจำตัวประชาชนที่นายทะเบียนออกให้แก่บุคคล 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

5. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ข้อมูลตัวบุคคลเกี่ยวกับ ชื่อ ชื่อสกุล เพศ ข. วันเดือนปีเกิดและตาย สัญชาติ ศาสนา

 ค. ภูมิลำเนา สถานะการสมรส วุฒิการศึกษา 

 ง. ชื่อบิดามารดาหรือผู้รับบุตรบุญธรรม ชื่อคู่สมรส และชื่อบุตร และข้อมูลอื่นที่จำเป็นเพื่อการดำเนินงานทะเบียนต่างๆ

 จ. ถูกทุกข้อ

6. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 เลขประจำตัว หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก.  เลขประจำตัวประชาชนที่นายทะเบียนออกให้แก่บุคคลแต่ละคน

 ข. เลขที่ออกให้ในวันเกิดตามสูติบัตร ค. เลขที่ออกให้เพื่อยืนยันตัวบุคคลได้จริง

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค จ. ถูกทุกข้อ

 

7. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534  บ้าน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างสำหรับใช้เป็นที่อยู่อาศัย ซึ่งมีเจ้าบ้านครอบครอง

 ข. แพ

 ค. โรงเรือนหรือสิ่งปลูกสร้างสำหรับใช้เป็นที่อยู่อาศัย

 ง. สถานที่ หรือยานพาหนะอื่นซึ่งใช้เป็นที่อยู่อาศัยประจำ

 จ. ถูกทุกข้อ

8. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534  ทะเบียนบ้าน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ทะเบียนประจำบ้านแต่ละบ้านซึ่งแสดงเลขประจำบ้าน ข. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน

 ค. ทะเบียนประวัติบุคคลที่อยู่ในบ้าน ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

9. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ทะเบียนคนเกิด หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ทะเบียนซึ่งแสดงรายการคนเกิด

 ข. ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้นสำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน

 ค. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค

 จ. ถูกทุกข้อ

10. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ทะเบียนคนตาย หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ทะเบียนซึ่งแสดงรายการคนตาย

 ข. ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้นสำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน

 ค. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค

 จ. ถูกทุกข้อ

11. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ทะเบียนบ้านกลาง หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ทะเบียนซึ่งแสดงรายการคนตาย

 ข. ทะเบียนซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดให้จัดทำขึ้นสำหรับลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อในทะเบียนบ้าน

 ค. รายการของคนทั้งหมดผู้อยู่ในบ้าน

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค

 จ. ถูกทุกข้อ


12. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 เจ้าบ้าน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. ซึ่งเป็นหัวหน้าครอบครองบ้านในฐานะเป็นเจ้าของ ข. ผู้เช่าบ้าน

 ค. ในกรณีที่ไม่ปรากฏเจ้าบ้าน หรือเจ้าบ้านไม่อยู่ ผู้มีหน้าที่ดูแลบ้านในขณะนั้นเป็นเจ้าบ้าน 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

13. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 นายทะเบียน หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง ข. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ

 ค. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น

 ง. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนสาขา นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนเฉพาะกิจ และนายทะเบียนผู้รับแจ้ง

 จ. ถูกทุกข้อ

14. ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 นายทะเบียนผู้รับแจ้ง หมายถึงข้อใดถูกต้อง

 ก. นายทะเบียนอำเภอ  ข.นายทะเบียนท้องถิ่น

 ค.ผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียนกลางได้กำหนดให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ การสร้างบ้านใหม่

  การรื้อบ้าน และการกำหนดเลขประจำบ้านนายทะเบียนอำเภอ นายทะเบียนท้องถิ่น และผู้ซึ่งผู้อำนวยการทะเบียน

 กลางได้กำหนดให้มีหน้าที่เกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การตาย การย้ายที่อยู่ การสร้างบ้านใหม่ การรื้อบ้าน และ

 การกำหนดเลขประจำบ้าน

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

15. ใครมีอำนาจออกกฎกระทรวงกำหนดหรือยกเว้นการปฏิบัติเกี่ยวกับการแจ้งการเกิด การแจ้งการตาย การแจ้งการย้าย

 ที่อยู่ การสำรวจตรวจสอบหรือปรับปรุงการทะเบียนราษฎร การจัดทำทะเบียนประวัติ การจัดทำบัตรประจำตัวหรือ

 การอื่นใดอันเกี่ยวกับคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทยตามกฎหมายที่เกี่ยวด้วยสัญชาติได้

 ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. อธิบดีกรมการปกครอง

 ค. ปลัดกระทรวงมหาดไทย ง. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย

 จ. ไม่มีข้อไดถูก

16.ตามพระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 ใครรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และให้มีอำนาจแต่งตั้งพนักงาน

 เจ้าหน้าที่กับออกกฎกระทรวงกำหนดค่าธรรมเนียมไม่เกินอัตราท้ายพระราชบัญญัตินี้

 ก. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ข. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ

 ค. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

 

17. ข้อใดเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลาง

 ก.ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ข. รองผู้อำนวยการทะเบียนกลาง

 ค. ผู้ช่วยผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

18. นายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกลางมีหน้าที่ ข้อใดถูกต้อง

 ก. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทั่วราชอาณาจักร

 ข. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรในเขตกรุงเทพมหานคร

 ค. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทุกจังหวัด

 ง. รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎรทุกอำเภอ

 จ. ถูกทุกข้อ

19. ให้ใครเป็นผู้อำนวยการทะเบียนกลาง

 ก. อธิบดีกรมการปกครอง . ปลัดกระทรวงมหาดไทย

 ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ง. นายอำเภอทุกอำเภอ

 จ. ถูกทุกข้อ

20. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนกรุงเทพมหานคร

 ก. นายทะเบียนกรุงเทพมหานคร ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร

 ค. รองผู้อำนวยการทะเบียนกรุงเทพมหานคร ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ค

21. ใครเป็นนายทะเบียนกรุงเทพมหานคร

 ก. ปลัดกรุงเทพมหานคร ข. ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร

 ค. รองปลัดกรุงเทพมหานคร ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 ง. ถูกทุกข้อ

22. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนจังหวัด มีหน้าที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร

 ในเขตจังหวัด

 ก. นายทะเบียนจังหวัด ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนจังหวัด

 ค. จ่าจังหวัด ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

 

23. ใครเป็นนายทะเบียนจังหวัด

 ก. ผู้ว่าราชการจังหวัด ข. รองผู้ว่าราชการจังหวัด

 ค. ปลัดจังหวัด ง. จ่าจังหวัด

 จ. เสมียนตราจังหวัด

24. ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นนายทะเบียนจังหวัด และอาจมอบอำนาจให้ใครปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนจังหวัดได้

 ก. รองผู้ว่าราชการจังหวัด ข. ปลัดจังหวัด

 ค. จ่าจังหวัด ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

25. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับนายทะเบียนจังหวัด

 ก. ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นนายทะเบียนจังหวัด 

 ข. ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจมอบอำนาจให้รองผู้ว่าราชการจังหวัดปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนจังหวัดได้

 ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดอาจมอบอำนาจให้ปลัดจังหวัดปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนจังหวัดได้

 ง. ผู้ว่าราชการจังหวัดมีอำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนจังหวัด

 จ. ถูกทุกข้อ

26. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนอำเภอ

 ก. นายทะเบียนอำเภอ ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ

 ค. ปลัดอำเภอ ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

27. ใครเป็นนายทะเบียนอำเภอ

 ก. นายอำเภอ ข. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ

 ค. ปลัดหัวหน้ากลุ่มงานบริหารปกครอง ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

28. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับนายทะเบียนอำเภอ

 ก. นายอำเภอเป็นนายทะเบียนอำเภอ

 ข. ปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นนายทะเบียนอำเภอ

 ค. ให้นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอเป็นนายทะเบียนอำเภอ

  และอาจมอบอำนาจให้ปลัดอำเภอคนใดคนหนึ่งปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนอำเภอได้

 ง. นายอำเภอหรือปลัดอำเภอผู้เป็นหัวหน้าประจำกิ่งอำเภอ อำนาจแต่งตั้งผู้ช่วยนายทะเบียนอำเภอ

 จ. ถูกทุกข้อ

 

29. ใครเป็นนายทะเบียนประจำสำนักทะเบียนท้องถิ่น มีหน้าที่รับผิดชอบและควบคุมการปฏิบัติงานการทะเบียนราษฎร

 ในเขตปกครองท้องถิ่นนั้นๆ

 ก. นายทะเบียนท้องถิ่น ข. ผู้ช่วยนายทะเบียนท้องถิ่น

 ค. เจ้าพนักงานธุรการที่อยู่ในสำนักทะเบียนท้องถิ่น ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

30. ปลัดเทศบาล ผู้อำนวยการเขต ปลัดเมืองพัทยาหรือหัวหน้าผู้บริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่น เป็นนายทะเบียน

 ท้องถิ่น และอาจมอบอำนาจให้ใคร ปฏิบัติราชการแทนนายทะเบียนท้องถิ่นได้

 ก. รองปลัดเทศบาล ข. ผู้ช่วยผู้อำนวยการเขต

 ค. รองปลัดเมืองพัทยา ง. ผู้ช่วยหัวหน้าผู้บริหารของหน่วยการปกครองท้องถิ่น

 จ. ถูกทุกข้อ

31. ในกรณีจำเป็นต้องมีสำนักทะเบียนสาขา หรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจในเขตท้องที่สำนักทะเบียนอำเภอ หรือสำนัก

 ทะเบียนท้องถิ่น แล้วแต่กรณี ให้ใครจัดตั้งและกำหนดหน้าที่ความรับผิดชอบการปฏิบัติงาน การทะเบียนราษฎรสำหรับ

 สำนักทะเบียนสาขาหรือสำนักทะเบียนเฉพาะกิจในเขตท้องที่ของสำนักทะเบียนดังกล่าว

 ก. ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง . ปลัดกระทรวงมหาดไทย

 ค. ผู้ว่าราชการจังหวัดทุกจังหวัด ง. นายอำเภอทุกอำเภอ

 จ. ถูกทุกข้อ

32. เพื่อความถูกต้องของการทะเบียนราษฎร ให้ใครมีอำนาจเรียกเจ้าบ้าน หรือบุคคลใดๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริงหรือ

 ให้แสดงหลักฐานต่างๆ ได้ตามความจำเป็น และเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยให้มีอำนาจเข้าไปสอบถามผู้อยู่ในบ้านใดๆ

 ได้ตามอำนาจหน้าที่ แต่ต้องแจ้งให้เจ้าบ้านทราบก่อน ทั้งนี้ ให้กระทำได้ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก

 ก. นายทะเบียน ข. เจ้าพนักงานปกครอง ระดับ 7

 ค. เจ้าพนักงานปกครอง ระดับ 8 ง. เจ้าหน้าที่ปกครอง

 จ. ไม่มีข้อใดถูก

33. เพื่อความถูกต้องของการทะเบียนราษฎร ให้นายทะเบียนมีอำนาจเรียกเจ้าบ้าน หรือบุคคลใดๆ มาชี้แจงข้อเท็จจริงหรือ

 ให้แสดงหลักฐานต่างๆ ได้ตามความจำเป็น และเมื่อมีเหตุอันควรสงสัยให้มีอำนาจเข้าไปสอบถามผู้อยู่ในบ้านใดๆ ได้

 ตามอำนาจหน้าที่ แต่ต้องแจ้งให้เจ้าบ้านทราบก่อน ทั้งนี้ ให้กระทำได้ในระหว่างเวลาพระอาทิตย์ขึ้นและพระอาทิตย์ตก

 ในการเข้าไปสอบถามให้นายทะเบียนแสดงอะไร

 ก. บัตรประจำตัวตามแบบที่กำหนดในกฎกระทรวง 

 ข. แสดงตนโดยกล่าวว่าเป็นเจ้าพนักงานกระทำการตามหน้าที่

 ค. กล่าวคำขออนุญาตตรวจค้น

 

 ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ค 

 จ. ไม่มีข้อใดถูก

34. เพื่อประโยชน์ในการเก็บรักษาและควบคุมการทะเบียนราษฎร การตรวจสอบพิสูจน์ตัวบุคคลและประมวลผลข้อมูล

 ทะเบียนประวัติราษฎร ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรตามที่ใครกำหนดและ

 ปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้ตรงต่อความเป็นจริงอยู่เสมอ

 ก. ผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ข. รองผู้อำนวยการทะเบียนกลาง

 ค. ผู้ช่วยผู้อำนวยการทะเบียนกลาง ง. ถูกทั้ง ข้อ ก และ ข้อ ข

 จ. ถูกทุกข้อ

35. การเก็บรักษาและควบคุมการทะเบียนราษฎร การตรวจสอบพิสูจน์ตัวบุคคลและประมวลผลข้อมูลทะเบียนประวัติ

 ราษฎร ให้สำนักทะเบียนกลางดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร และปรับปรุงข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร

 ให้ตรงต่อความเป็นจริงอยู่เสมอ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการ ที่กำหนดในกฎกระทรวง

 ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกำหนด

 ค. พระราชกฤษฎีกา ง. กฎกระทรวง

 จ. ประกาศกระทรวงมหาดไทย

36. การจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎร ไม่รวมถึงการจัดเก็บข้อมูลของบุคคล ข้อใดถูก

 ก. รายได้ ข. ประวัติอาชญากรรม

 ค. การชำระหรือไม่ชำระภาษีอากร ง. ข้อมูลที่คณะรัฐมนตรีกำหนด

 จ. ถูกทุกข้อ

37. เมื่อได้รับคำขอแก้ไขเพิ่มเติม ลบ หรือทำให้ทันสมัยซึ่งข้อมูลใดๆ ในข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรเพื่อให้เกิด

 ความถูกต้องตามความเป็นจริง ให้นายทะเบียนมีคำสั่งโดยเร็ว คำสั่งของนายทะเบียนที่ไม่รับคำขอ หรือไม่ดำเนินการ

 ตามคำขอทั้งหมดหรือบางส่วนให้อุทธรณ์ต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยภายในกี่วันนับแต่วันรับทราบคำสั่ง

 จากนายทะเบียนกลาง

 ก. 7 วัน ข. 15 วัน

 ค. 20 วัน ง. 30 วัน

 ง. 60 วัน 

38. ในการดำเนินการจัดเก็บข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรให้ผู้อำนวยการทะเบียนกลางกำหนดเลขประจำตัวแก่บุคคล

 ที่อยู่ในราชอาณาจักรคนละหนึ่งเลขโดยไม่ซ้ำกัน การยกเว้นการให้เลขประจำตัวแก่บุคคล ให้กำหนดในอะไร

 ก. พระราชบัญญัติ ข. พระราชกำหนด

   ค. พระราชกฤษฎีกา ง. กฎกระทรวง

 จ. ประกาศกระทรวงมหาดไทย

39. ข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรต้องถือเป็นความลับ และให้นายทะเบียนเป็นผู้เก็บรักษาและใช้เพื่อการปฏิบัติตามที่ได้

 บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัตินี้เท่านั้น ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อความหรือตัวเลขนั้นแก่บุคคลใดๆ ซึ่งไม่มีหน้าที่ปฏิบัติการ

 ตามพระราชบัญญัตินี้ หรือแก่สาธารณชน เว้นแต่ ข้อใดถูกต้อง

 ก. ผู้มีส่วนได้เสียขอทราบเกี่ยวกับสถานภาพทางครอบครัวของผู้ที่ตนจะมีนิติสัมพันธ์ด้วย

 ข. เมื่อมีความจำเป็นเพื่อประโยชน์แก่การสถิติ หรือเพื่อประโยชน์แก่การรักษาความมั่นคงของรัฐ

 ค. การดำเนินคดีและการพิจารณาคดีหรือการปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย

 ง. ไม่ว่าในกรณีใดจะนำข้อมูลทะเบียนประวัติราษฎรไปใช้เป็นหลักฐานที่อาจก่อให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของข้อมูลมิได้

 จ. ถูกทุกข้อ

40. พระราชบัญญัติการทะเบียนราษฎร พ.ศ. 2534 เมื่อมีคนเกิดให้แจ้งการเกิด คนเกิดในบ้าน ให้เจ้าบ้านหรือบิดาหรือ

 มารดาแจ้งต่อนายทะเบียนผู้รับแจ้งแห่งท้องที่ที่คนเกิดในบ้านภายในกี่วันนับแต่วันเกิด

 ก. 7 วัน ข. 15 วัน

 ค. 20 วัน ง. 30 วัน

 จ. 45 วัน


สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



decho 2013-09-18 09:51
ประกาศ รับสมัครบุตคลเข้าเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2556 3/2556 และ4/2556 รวม 13 ตำแหน่ง 74 อัตรา <รับออนไลน์> ครั้งที่ 2 (6-26 ก.ย.56) ครั้งที่ 3 (12 ก.ย.-2 ต.ค.56) ครั้งที่ 4 (20 ก.ย.-10 ต.ค.56)

กรุงเทพมหานคร (กทม) ประกาศ รับสมัครบุคคลเข้าเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร ครั้งที่ 2/2556 3/2556 และ4/2556 รวม 13 ตำแหน่ง 74 อัตรา <รับออนไลน์> ครั้งที่ 2 (6-26 ก.ย.56) ครั้งที่ 3 (12 ก.ย.-2 ต.ค.56) ครั้งที่ 4 (20 ก.ย.-10 ต.ค.56)

 
กทมเปิดสอบรับราชการเป็นข้าราชการกรุงเทพมหานคร 
ครั้งที่ 2/2556 รับสมัคร 6 - 26 กันยายน 2556 
ครั้งที่ 3/2556 รับสมัคร 12 กันยายน - 2 ตุลาคม 2556 
และครั้งที่ 4/2556 รับสมัคร 20 กันยายน - 10 ตุลาคม 2556
รวม 74 ตำแหน่ง
 
สมัครได้ที่ : [url]www.bangkok.go.th/exam[/url]

สอบ กทม ปี 2556

ตําแหน่งที่จะรับสมัครสอบแข่งขัน
 
ระดับปฏิบัติงาน จํานวน      ๓     ตําแหน่ง
ประกอบด้วยตําแหน่งประเภททั่วไปและ
ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ   จํานวน    ๑๐    ตําแหน่ง
 
รวมตําแหน่งว่าง      จํานวน   ๗๔    ตําแหน่ง
 
๑. ครั้งที่ ๒/๒๕๕๖ กําหนดการรับสมัครสอบ ตําแหน่งประเภทวิชาการ ระหว่างวันที่ ๖ – ๒๖ กันยายน ๒๕๕๖
 
ประกอบด้วยตําแหน่งต่อไปนี้
 ๑.๑ เจ้าพนักงานเทศกิจปฏิบัติการ                                               ๑ ตําแหน่ง
 ๑.๒ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ    ๑๘ ตําแหน่ง
 
๒. ครั้งที่ ๓/๒๕๕๖ กําหนดการรับสมัครสอบ ตําแหน่งประเภททั่วไปและ
ตําแหน่งประเภทวิชาการ
ระหว่างวันที่ ๑๒ กันยายน – ๒ ตุลาคม ๒๕๕๖
 
ประกอบด้วยตําแหน่งต่อไปนี้
 ๒.๑ เจ้าพนักงานสื่อสารปฏิบัติงาน                         จํานวน   ๒   ตําแหน่ง
 ๒.๒ เจ้าพนักงานเครื่องคอมพิวเตอร์ปฏิบัติงาน       จํานวน   ๕   ตําแหน่ง
 ๒.๓ นายช่างเครื่องกลปฏิบัติงาน                           จํานวน   ๔   ตําแหน่ง
 ๒.๔ วิศวกรเครื่องกลปฏิบัติการ                              จํานวน   ๒   ตําแหน่ง
 
๓. ครั้งที่ ๔/๒๕๕๖ กำหนดการรับสมัครสอบ ตําแหน่งประเภทวิชาการ
ระหว่างวันที่ ๒๐ กันยายน – ๑๐ ตุลาคม ๕๕๖
 
ประกอบด้วยตําแหน่งต่อไปนี้
 ๓.๑ เจ้าหน้าที่ระบบงานคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ       จำนวน  ๔    ตําแหน่ง
 ๓.๒ นักจิตวิทยาปฏิบัติการ                                     จํานวน  ๑    ตําแหน่ง
 ๓.๓ นักวิชาการคลังปฏิบัติการ                                จํานวน  ๑    ตําแหน่ง
 ๓.๔ นักวิชาการศึกษาปฏิบัติการ                             จํานวน  ๒๐  ตําแหน่ง
 ๓.๕ นักพัฒนาการท่องเที่ยวปฏิบัติการ                    จํานวน   ๒   ตําแหน่ง
 ๓.๖ นักทรัพยากรบุคคลปฏิบัติการ                           จํานวน  ๑๐  ตําแหน่ง
 ๓.๗ เจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ                        จํานวน  ๔    ตำแหน่ง

สั่งซื้อที่

ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724  Line : testthai1
สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท  ได้รับภายใน 2-3 ชม.
ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3  ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน
กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ
เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 
ธ.กสิกรไทย  
ออมทรัพย์ ชื่อบัญชี decho pragay

ผลงานการสอบได้ของลูกค้า 
ติดตามข่าวการสอบราชการที่  https://www.facebook.com/testthai1
ดาวน์โหลดแนวข้อสอบรับราชการที่นี่  www.ข้อสอบงานราชการไทย.com



เวอร์ชันเต็ม: [-- แนวข้อสอบเจ้าพนักงานปกครองปฏิบัติการ กรุงเทพมหานคร --] [-- top --]


Powered by PHPWind v7.5 SP3 Code ©2003-2010 PHPWind
Time 0.114927 second(s),query:3 Gzip enabled

You can contact us